สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 1
ปุจฉา
ปุจฉา
สุดท้ายคือ มันต้องมีสิ่งทำให้ความไม่มีมันกลายเป็นมี สิ่งที่สร้างบางอย่างโดยไม่ใช้วัดถุดิบ
วิสัชนา
การคิดเช่นนั้นมันเป็นเรื่องทางปรัชญาตะวัตตก ในมโนทัศน์ของปรัชญาตะวันตกที่มาฐานคิดว่า ...สรรพสิ่งเริ่มนับจำนวนต้องเริ่มที่เลขหนึ่งเสมอ
กฏจึงต้องมีผู้ตั้งกฏเสมอ เมื่อมีผู้ตั้งกฏก็จึงมีผู้ควบคุม
แต่ฐานคิดดังกล่าว ..ต่างจากฐานในมโนทัศน์ของปรัชญาตะวันออก
ทางตะวันออก กล่าวไว้ว่าสรรพสิ่งเป็นวงกลม
สรรพสิ่งไม่มีจุดเริ่มหรือจุดจบ กฏจึงเป็นเรื่องที่ไม่มีจุดเริ่ม
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กฏพื้นฐานที่สุด ...ย่อมไม่มีจุดเริ่ม
.
.
"
"
"
ในแง่คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ในตอนเราเรียนคณิตศาสตร์ระดับอนุบาล เราต้องเริ่มเรียนที่เลขหนึ่ง(ระบบจำนวนนับ เส้นจำนวนคือเส้นตรง จุดเริ่มของจำนวนนับคือเลขหนึ่ง) เพราะมโนทัศน์ของเด็กยังไม่เข้าใจเลขศูนย์และจำนวนอนันต์
ต่อเมื่ออายุมากขึ้นสมองมีระบบความคิดที่ซับซ้อนขึ้นจึงเข้าใจว่าสรรพสิ่งเป็นอนันต์ (ซึ่งถ้าเราเรียนคณิตศาสตรืมากขึ้นก้อจะมาเข้าใจในภายหลังได้ว่าเส้นตรงก็คือส่วนหนึ่งของวงกลมที่มีรัศมีเป็นอนันต์นั่นเอง)
ในอดีตเราเชื่อว่าโลกแบน(ความแบนคือส่วนหนึ่งของทรงกลมที่มีรัศมีเป็นอนันต์) ดังมาพบในภายหลังว่าโลกกลม..แม้นแต่การกำเนิดของเอกภพก็มีลักษณะวนไปวนมา
เลข0 ในฐานะของศูนย์ในทางระบบคณิตศาสตร์ปรัชญาตะวันตกไม่เคยมีมาก่อน เราถือว่าอินเดียเป็นต้นกำเนิดของระบบจำนวนอันซับซ้อนที่เราใช้กันอยู่ทุก วันนี้ แต่อินเดียเองก็ได้รับความรู้และอิทธิพลมาจากอารยธรรมรุ่นก่อนด้วย ในกรณีของเลข 0 นั้น ชาวอินเดียรู้จักกับมันในเชิงของปรัชญาและจิตวิญญาณมาตั้งแต่ 17,000 ปีก่อนแล้ว ปรัชญาของอินเดียพูดถึง ความว่างเปล่า มานาน คำว่าศูนย์เองก็คือ สูญ หรือ สุญตา และภาษาอังกฤษก็เรียก sunya(มาจากคำว่า sunyata) แทนคำว่าศูนย์เมื่อพูดถึงประวัติของเลขศูนย์
.
.
.
หมายเหตุ.... ศูนย์ อนันต์ และวงกลม คือสิ่งเดียวกันในธรรมชาติ ซึ่งเป้นฐานของปรัญชาตะวันออก ที่ต่างกับตะวันตก
ภาษาคณิตศาสตร์..... จำนวนใดๆ เอาอนันต์มาหารจะเป็นศูนย์
ภาษาชาวบ้าน............ สรรพสิ่งถ้าแบ่งย่อยๆดูให้ละเอียดสุดๆแล้ว. ล้วนไร้แก่นสาร
กฏพื้นฐานแห่งธรรมชาติไม่มีจุดเริ่ม ....ธรรมชาติ มันเป็นเช่นนั้นเอง
ปุจฉา
สุดท้ายคือ มันต้องมีสิ่งทำให้ความไม่มีมันกลายเป็นมี สิ่งที่สร้างบางอย่างโดยไม่ใช้วัดถุดิบ
วิสัชนา
การคิดเช่นนั้นมันเป็นเรื่องทางปรัชญาตะวัตตก ในมโนทัศน์ของปรัชญาตะวันตกที่มาฐานคิดว่า ...สรรพสิ่งเริ่มนับจำนวนต้องเริ่มที่เลขหนึ่งเสมอ
กฏจึงต้องมีผู้ตั้งกฏเสมอ เมื่อมีผู้ตั้งกฏก็จึงมีผู้ควบคุม
แต่ฐานคิดดังกล่าว ..ต่างจากฐานในมโนทัศน์ของปรัชญาตะวันออก
ทางตะวันออก กล่าวไว้ว่าสรรพสิ่งเป็นวงกลม
สรรพสิ่งไม่มีจุดเริ่มหรือจุดจบ กฏจึงเป็นเรื่องที่ไม่มีจุดเริ่ม
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กฏพื้นฐานที่สุด ...ย่อมไม่มีจุดเริ่ม
.
.
"
"
"
ในแง่คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ในตอนเราเรียนคณิตศาสตร์ระดับอนุบาล เราต้องเริ่มเรียนที่เลขหนึ่ง(ระบบจำนวนนับ เส้นจำนวนคือเส้นตรง จุดเริ่มของจำนวนนับคือเลขหนึ่ง) เพราะมโนทัศน์ของเด็กยังไม่เข้าใจเลขศูนย์และจำนวนอนันต์
ต่อเมื่ออายุมากขึ้นสมองมีระบบความคิดที่ซับซ้อนขึ้นจึงเข้าใจว่าสรรพสิ่งเป็นอนันต์ (ซึ่งถ้าเราเรียนคณิตศาสตรืมากขึ้นก้อจะมาเข้าใจในภายหลังได้ว่าเส้นตรงก็คือส่วนหนึ่งของวงกลมที่มีรัศมีเป็นอนันต์นั่นเอง)
ในอดีตเราเชื่อว่าโลกแบน(ความแบนคือส่วนหนึ่งของทรงกลมที่มีรัศมีเป็นอนันต์) ดังมาพบในภายหลังว่าโลกกลม..แม้นแต่การกำเนิดของเอกภพก็มีลักษณะวนไปวนมา
เลข0 ในฐานะของศูนย์ในทางระบบคณิตศาสตร์ปรัชญาตะวันตกไม่เคยมีมาก่อน เราถือว่าอินเดียเป็นต้นกำเนิดของระบบจำนวนอันซับซ้อนที่เราใช้กันอยู่ทุก วันนี้ แต่อินเดียเองก็ได้รับความรู้และอิทธิพลมาจากอารยธรรมรุ่นก่อนด้วย ในกรณีของเลข 0 นั้น ชาวอินเดียรู้จักกับมันในเชิงของปรัชญาและจิตวิญญาณมาตั้งแต่ 17,000 ปีก่อนแล้ว ปรัชญาของอินเดียพูดถึง ความว่างเปล่า มานาน คำว่าศูนย์เองก็คือ สูญ หรือ สุญตา และภาษาอังกฤษก็เรียก sunya(มาจากคำว่า sunyata) แทนคำว่าศูนย์เมื่อพูดถึงประวัติของเลขศูนย์
.
.
.
หมายเหตุ.... ศูนย์ อนันต์ และวงกลม คือสิ่งเดียวกันในธรรมชาติ ซึ่งเป้นฐานของปรัญชาตะวันออก ที่ต่างกับตะวันตก
ภาษาคณิตศาสตร์..... จำนวนใดๆ เอาอนันต์มาหารจะเป็นศูนย์
ภาษาชาวบ้าน............ สรรพสิ่งถ้าแบ่งย่อยๆดูให้ละเอียดสุดๆแล้ว. ล้วนไร้แก่นสาร
กฏพื้นฐานแห่งธรรมชาติไม่มีจุดเริ่ม ....ธรรมชาติ มันเป็นเช่นนั้นเอง
แสดงความคิดเห็น
ตกลงเรามีพระเจ้ารึป่าวคับ (สาระน่ะ)