คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 4
รัฐจะรับผิชอบตามที่กฎหมายได้กำหนดไว้ ในเรื่องนี้ มีพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำลยในคดีอาญา แก้ไขครั้ง 2 พ.ศ. 2559 ซึ่งหน่วยงานที่รับผิดชอบคือ กรมคุ้มครองสิทธิ์และสรีภาพ ในส่วนของสำนักงานช่วยเหลือทางการเงิน ซึ่งผู้ที่จะขอรับเงินช่วยเหลือนี้ได้ ต้องเป็นผู้เสียหายและเป้นจำเลย กรณีที่เป้นจำเลยนั้น ต้องเป็นจำเลยที่ถูกพนักงานอัยการฟ้องนะครับ
1.กรณีผู้ที่ได้รับผลร้าย คือเสียชีวิจหรือได้รับบาดเจ็บจากการกระทำผิดของบุคคลอื่น จะไ้รับค่าตอบแทน ตามที่ประกาศในกฎกระทรวงและจะต้องมีเอกสารตามทีกรมฯ ต้องกการ คือมีการแจ้งความต่อตำรวจ สรุปต้องเป็นผู้เสียหาย
2.กรณีที่เป้นจำเลยนั้น ต้องเป็นจำเลยที่ถูกพนักงานอัยการฟ้องนะครับ ในกรณีที่ศาลอันคดีถึงที่สึดพิพากษายกฟ้องโจทก์ (คือจำเลยเปฯแพะ) มีหมายขัง และหมายปล่อย และคำพิพากาษาของศาลและหนังสือรับรองคดีถึงที่สุดด้วย เพื่อยื่นคำขอรับค่าทดแทน และค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา
การพิจารณาค่าตอบแทน นั้น เป็นอำนาจของอนุกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำลยในคดีอาญา ในจั้งหวัด ดังนั้นถ้ามีผู้ไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัยของอนุกรรมการ ก็สามารถที่จะอุทธรณ์ไปยังคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำลยในคดีอาญา คืออยู่ที่กรุงเเทพ โดยการนี้คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำลยในคดีอาญานี้ จะมีปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานในการประชุม จะนำเข้าพิจารณาอุทธรณ์ ***หากมีคำวิจฉัยแล้วก็จะส่งให้ผู้สียหายหรือจำลย ณ สถานที่อยู่ที่ได้แจ้งไว้****
****หากใครไม่พอใจกับคำวิจนิฉัยของคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำลยในคดีอาญา (ชุดใหญ่) ก็สามารถอุทธรณ์ไปที่ศาลอุทธรณ์ก็ได้ ตามกฎหมายพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำลยในคดีอาญา แก้ไขครั้ง 2 พ.ศ. 2559หรือหากท่านใดประสงค์ที่จะจะอุทธรณ์คำวินิจฉัยดังกล่าว และไม่รู้ว่าจะทำอย่างไร จะโทรมาปรึกษาผมก็ได้ครับ ทนายเสกสรร จันทวงศ์ ที่เบอร์ 0895552338 (ทนายเดียร์)
1.กรณีผู้ที่ได้รับผลร้าย คือเสียชีวิจหรือได้รับบาดเจ็บจากการกระทำผิดของบุคคลอื่น จะไ้รับค่าตอบแทน ตามที่ประกาศในกฎกระทรวงและจะต้องมีเอกสารตามทีกรมฯ ต้องกการ คือมีการแจ้งความต่อตำรวจ สรุปต้องเป็นผู้เสียหาย
2.กรณีที่เป้นจำเลยนั้น ต้องเป็นจำเลยที่ถูกพนักงานอัยการฟ้องนะครับ ในกรณีที่ศาลอันคดีถึงที่สึดพิพากษายกฟ้องโจทก์ (คือจำเลยเปฯแพะ) มีหมายขัง และหมายปล่อย และคำพิพากาษาของศาลและหนังสือรับรองคดีถึงที่สุดด้วย เพื่อยื่นคำขอรับค่าทดแทน และค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา
การพิจารณาค่าตอบแทน นั้น เป็นอำนาจของอนุกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำลยในคดีอาญา ในจั้งหวัด ดังนั้นถ้ามีผู้ไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัยของอนุกรรมการ ก็สามารถที่จะอุทธรณ์ไปยังคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำลยในคดีอาญา คืออยู่ที่กรุงเเทพ โดยการนี้คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำลยในคดีอาญานี้ จะมีปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานในการประชุม จะนำเข้าพิจารณาอุทธรณ์ ***หากมีคำวิจฉัยแล้วก็จะส่งให้ผู้สียหายหรือจำลย ณ สถานที่อยู่ที่ได้แจ้งไว้****
****หากใครไม่พอใจกับคำวิจนิฉัยของคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำลยในคดีอาญา (ชุดใหญ่) ก็สามารถอุทธรณ์ไปที่ศาลอุทธรณ์ก็ได้ ตามกฎหมายพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำลยในคดีอาญา แก้ไขครั้ง 2 พ.ศ. 2559หรือหากท่านใดประสงค์ที่จะจะอุทธรณ์คำวินิจฉัยดังกล่าว และไม่รู้ว่าจะทำอย่างไร จะโทรมาปรึกษาผมก็ได้ครับ ทนายเสกสรร จันทวงศ์ ที่เบอร์ 0895552338 (ทนายเดียร์)
แสดงความคิดเห็น
ถ้าได้รับบาดเจ็บจากเหตุก่อการร้าย รัฐจะรับผิดชอบค่ารักษารึเปล่าครับ?
ทั้งนี้ตัวผมเองก็ไม่มีประกันภัยด้วย
จึงอย่างถามว่า
-ถ้าโรงบาลเอกชนรักษาผมเสร็จ ผมจะต้องจ่ายรักษาให้ทางโรงบาลเอกชนรึเปล่า?
-ถ้าเกิดว่า โรงบาลเอกชนไม่เก็บเงินผมเพราะเขาจะไปเก็บเงินกับรัฐรึเปล่า ถ้าใช่ก็อยากทราบว่ามีข้อกฎหมายอะไรที่เกี่ยวข้องบัญญัติไว้
ขอถามเพื่อเป็นความรู้ครับ