สรุป "ขั้นตอน" การสอบเข้าเรียนระดับปริญญาเอก ในประเทศเยอรมนี
การเรียนปริญญาเอก ในประเทศเยอรมนี
ถือว่า ไม่ใช่เป็นการเรียน แต่เป็นการค้นคว้าเพื่อหา
ความสุดยอด ทางวิชาการ และ นำเสนอออกมาเป็น
ผลงาน ของตัวเอง โดยความท้าทายอยู่ที่ ...
1. ไม่มีชั้นเรียน (ซึ่งอาจจะขึ้นอยู่กับแต่ละหลักสูตร
ด้วยนะคะ เพราะเท่าที่ได้ยินมาบางที่ ก็จะมีชั้นเรียน
พื้นฐาน ก่อนเขียนงานวิจัย)
2. นร.ด๊อกเตอร์ ต้องศึกษาค้นคว้า
และบริหารเวลาด้วยตัวเอง
----------------------
I.
[ ] เมื่อระบบการทำปริญญาเอกเป็นเช่นนี้ ระบบการสอบเข้า จึงไม่ใช่ลักษณะของการสอบแข่งขัน แต่เป็นลักษณะของการค้นหา และการได้รับการยอมรับจากศาสตราจารย์ หรือบิดาทางวิชาการ หรือ Doktorvater ก่อนค่ะ
II.
[ ] การค้นหาก็ว่ายากแล้ว เพราะต้องค้นหาศาสตราจารย์ ที่เขาสนใจจะร่วมงานด้วย
[ ] นั่นหมายถึง ศาสตราจารย์ที่ยอมรับเรานั้น
ไม่ได้ยอมรับเราในฐานะนักเรียน แต่ต้องการยอมรับเรา
ในฐานะ "ผู้ร่วมงาน" ที่จะสร้างผลงานด้วยกัน
[ ] ดังนั้น การได้รับการยอมรับ ที่จะได้ทำงานด้วยกัน
กับศาสตราจารย์ที่นี่ก็ยากยิ่งกว่า
[ ] นั่นหมายถึง เราต้องผ่านขั้นตอนต่างๆ อันเป็น
การวัดมาตรฐานว่า เราจะได้ทำผลงานปริญญาเอก
ในเยอรมนีหรือไม่
----------------------
- ขั้นตอนต่างๆ - มีดังต่อไปนี้ คือ ...
1. ค้นหาศาสตราจารย์ ที่มีความสนใจ
ในงานวิชาการ และร่างวิทยานิพนธ์ของเรา
โดยการค้นหา ก็จากเพจ ของคณะ ภาควิชา
ตามมหาวิทยาลัย ในเมือง ประเทศต่างๆ ที่เราสนใจ
แล้วจัดการเขียนจดหมายแนะนำตัวเอง โครงร่าง
งานวิจัย และเอกสารการเรียนที่เกี่ยวข้องต่างๆ
เพื่อนำเสนอต่อ ศาสตราจารย์ท่านนั้นๆ ค่ะ
----------------------
2. การตรวจสอบเอกสาร เกี่ยวกับการเรียน
และสถาบันการศึกษา ทั้งปริญญาตรีและโท
จากศาสตราจารย์ ภาควิชา และ มหาวิทยาลัย
[ ] ทางมหาวิทยาลัยของเยอรมนี จะมีลิสต์วัดระดับว่า ในระดับมหาวิทยาลัยของไทย มีมหาวิทยาลัยใดบ้าง
ที่มีระดับมาตรฐานเทียบเท่ากับมหาวิทยาลัย ในเยอรมนี
หรือในยุโรป รวมถึง ตรวจสอบผลการเรียน หรือ
เกรดเฉลี่ย
----------------------
3. การสอบสัมภาษณ์
[ ] ในขั้นนี้ หลังจากติดต่อพูดคุยกับศาสตราจารย์ที่ติดต่อไปแล้ว หากเราได้รับความสนใจ จากหัวข้อโครงร่างงานวิจัย และ คุณสมบัติต่างๆ ดังที่กล่าวในข้างต้นแล้ว
[ ] เราก็ได้รับจดหมายเชิญ ให้ไปสอบสัมภาษณ์ หรือเดินทางมาดูตัว จากทางภาควิชา และมหาวิทยาลัย
ซึ่งศาสตราจารย์ที่ให้ความสนใจในตัวเรา จะดำเนินการออกจดหมายเพื่อขอวีซ่าให้ ทั้งหมดค่ะ
----------------------
* ในกรณีที่ การสัมภาษณ์ดังที่กล่าวด้านบน ไม่เป็นที่มั่นใจว่า เรามีความรู้ที่แม่นยำ ในสาขานั้นๆ อย่างเพียงพอ (คิดว่า เป็นกรณีทั่วไป ที่นักศึกษาต่างชาติ จะถูกพิจารณา)
ศาสตราจารย์จะอนุมัติให้ดำเนินการ สอบปากปล่าว
จำนวน 2 วิชาสำคัญ ตามสาขาวิชาที่ต้องการศึกษา
ในระดับปริญญาเอก ศึ่งก็จะนำไปสู่ขั้นตอน ...
4. การสอบปากปล่าว 2 วิชาหลัก กับ 2ศาสตราจารย์
ผู้เชี่ยวชาญ วิชาละ 30 นาที เป็นภาษาอังกฤษ หรือ
ภาษาเยอรมัน
----------------------
และตามด้วย ...
5. การเขียนวิทยานิพนธ์จำนวน 60 หน้า
หรือ ที่สมัยก่อนเรียก Diplomarbeit ค่ะ
(ไม่แน่ใจว่า สมัยนี้ เรียกว่าอะไร
)
----------------------
*** ในกรณีที่สอบปากปล่าวไม่ผ่าน หรือ เขียนวิทยานิพนธ์ จำนวน 60 หน้า ไม่เสร็จ ทางมหาวิทยาลัย ก็ยังไม่ถือว่า นักศึกษาต่างชาติ เป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย อย่างสมบูรณ์
ซึ่งก็จะส่งผลถึง เอกสารหารขอวีซ่า ที่จะยังไม่ได้วีซ่า
ในระยะยาว จนถึงปีที่เรียนจบ
อย่างไรก็ดี มหาวิทยาลัย ก็จะออกเอกสารเพื่อขอต่อวีซ่าให้ ครั้งละ 3 เดือนเท่านั้น โดยแต่ละครั้งที่ยื่นขอต่อวีซ่า ก็จะต้องยื่นบล๊อคบัญชีทางการเงิน จากธนาคาร ให้ทางรัฐพิจารณา เป็นครั้งต่อครั้งอีกด้วยค่ะ
ข้อมูลเพิ่มเติม ของการเรียนต่อในเยอรมนี สามารถอ่านได้ที่ :
https://www.owl-education.com/what-studienkolleg/
------------------
หวังว่า เพื่อนๆ จะได้รับประโยชน์ จากบทความนี้
ไม่มากก็น้อย นะคะ
Have a nice day! & Be blessed!
ขอให้เพื่อนๆ มีความสุข สุขภาพแข็งแรง
& มี "ความหวัง" อยู่ เสมอ
-----------------
ติดตามบทความดีๆ มีประโยชน์
สร้างแรงดลบันดาลใจ พร้อมดนตรีไพเราะ
จากสามใบเถา ผู้มีหัวใจรักดนตรี ได้ที่นี่ ทุกวัน
#ความสุขแบบแม่ๆกับสามใบเถารัก
#ADrmomof3Girls #แม่ #Positive #เลี้ยงลูกด้วยทัศนคติเชิงบวก #บันทึกดีๆของแม่ลูกสาม #ครอบครัว #ดนตรี #นักไวโอลิน #นักเปียโน #ความสุข #แรงบันดาลใจ #ความสำเร็จ #เยอรมนี #ปริญญาเอก #ทัศนคติเชิงบวก #ภาษาเยอรมัน #วาดรูป #การ์ตูน #คำคม #การศึกษา
แบ่งปัน สรุป "ขั้นตอน" การสอบเข้าเรียนระดับปริญญาเอกในประเทศเยอรมนี
การเรียนปริญญาเอก ในประเทศเยอรมนี
ถือว่า ไม่ใช่เป็นการเรียน แต่เป็นการค้นคว้าเพื่อหา
ความสุดยอด ทางวิชาการ และ นำเสนอออกมาเป็น
ผลงาน ของตัวเอง โดยความท้าทายอยู่ที่ ...
1. ไม่มีชั้นเรียน (ซึ่งอาจจะขึ้นอยู่กับแต่ละหลักสูตร
ด้วยนะคะ เพราะเท่าที่ได้ยินมาบางที่ ก็จะมีชั้นเรียน
พื้นฐาน ก่อนเขียนงานวิจัย)
2. นร.ด๊อกเตอร์ ต้องศึกษาค้นคว้า
และบริหารเวลาด้วยตัวเอง
----------------------
I.
[ ] เมื่อระบบการทำปริญญาเอกเป็นเช่นนี้ ระบบการสอบเข้า จึงไม่ใช่ลักษณะของการสอบแข่งขัน แต่เป็นลักษณะของการค้นหา และการได้รับการยอมรับจากศาสตราจารย์ หรือบิดาทางวิชาการ หรือ Doktorvater ก่อนค่ะ
II.
[ ] การค้นหาก็ว่ายากแล้ว เพราะต้องค้นหาศาสตราจารย์ ที่เขาสนใจจะร่วมงานด้วย
[ ] นั่นหมายถึง ศาสตราจารย์ที่ยอมรับเรานั้น
ไม่ได้ยอมรับเราในฐานะนักเรียน แต่ต้องการยอมรับเรา
ในฐานะ "ผู้ร่วมงาน" ที่จะสร้างผลงานด้วยกัน
[ ] ดังนั้น การได้รับการยอมรับ ที่จะได้ทำงานด้วยกัน
กับศาสตราจารย์ที่นี่ก็ยากยิ่งกว่า
[ ] นั่นหมายถึง เราต้องผ่านขั้นตอนต่างๆ อันเป็น
การวัดมาตรฐานว่า เราจะได้ทำผลงานปริญญาเอก
ในเยอรมนีหรือไม่
----------------------
- ขั้นตอนต่างๆ - มีดังต่อไปนี้ คือ ...
1. ค้นหาศาสตราจารย์ ที่มีความสนใจ
ในงานวิชาการ และร่างวิทยานิพนธ์ของเรา
โดยการค้นหา ก็จากเพจ ของคณะ ภาควิชา
ตามมหาวิทยาลัย ในเมือง ประเทศต่างๆ ที่เราสนใจ
แล้วจัดการเขียนจดหมายแนะนำตัวเอง โครงร่าง
งานวิจัย และเอกสารการเรียนที่เกี่ยวข้องต่างๆ
เพื่อนำเสนอต่อ ศาสตราจารย์ท่านนั้นๆ ค่ะ
----------------------
2. การตรวจสอบเอกสาร เกี่ยวกับการเรียน
และสถาบันการศึกษา ทั้งปริญญาตรีและโท
จากศาสตราจารย์ ภาควิชา และ มหาวิทยาลัย
[ ] ทางมหาวิทยาลัยของเยอรมนี จะมีลิสต์วัดระดับว่า ในระดับมหาวิทยาลัยของไทย มีมหาวิทยาลัยใดบ้าง
ที่มีระดับมาตรฐานเทียบเท่ากับมหาวิทยาลัย ในเยอรมนี
หรือในยุโรป รวมถึง ตรวจสอบผลการเรียน หรือ
เกรดเฉลี่ย
----------------------
3. การสอบสัมภาษณ์
[ ] ในขั้นนี้ หลังจากติดต่อพูดคุยกับศาสตราจารย์ที่ติดต่อไปแล้ว หากเราได้รับความสนใจ จากหัวข้อโครงร่างงานวิจัย และ คุณสมบัติต่างๆ ดังที่กล่าวในข้างต้นแล้ว
[ ] เราก็ได้รับจดหมายเชิญ ให้ไปสอบสัมภาษณ์ หรือเดินทางมาดูตัว จากทางภาควิชา และมหาวิทยาลัย
ซึ่งศาสตราจารย์ที่ให้ความสนใจในตัวเรา จะดำเนินการออกจดหมายเพื่อขอวีซ่าให้ ทั้งหมดค่ะ
----------------------
* ในกรณีที่ การสัมภาษณ์ดังที่กล่าวด้านบน ไม่เป็นที่มั่นใจว่า เรามีความรู้ที่แม่นยำ ในสาขานั้นๆ อย่างเพียงพอ (คิดว่า เป็นกรณีทั่วไป ที่นักศึกษาต่างชาติ จะถูกพิจารณา)
ศาสตราจารย์จะอนุมัติให้ดำเนินการ สอบปากปล่าว
จำนวน 2 วิชาสำคัญ ตามสาขาวิชาที่ต้องการศึกษา
ในระดับปริญญาเอก ศึ่งก็จะนำไปสู่ขั้นตอน ...
4. การสอบปากปล่าว 2 วิชาหลัก กับ 2ศาสตราจารย์
ผู้เชี่ยวชาญ วิชาละ 30 นาที เป็นภาษาอังกฤษ หรือ
ภาษาเยอรมัน
----------------------
และตามด้วย ...
5. การเขียนวิทยานิพนธ์จำนวน 60 หน้า
หรือ ที่สมัยก่อนเรียก Diplomarbeit ค่ะ
(ไม่แน่ใจว่า สมัยนี้ เรียกว่าอะไร )
----------------------
*** ในกรณีที่สอบปากปล่าวไม่ผ่าน หรือ เขียนวิทยานิพนธ์ จำนวน 60 หน้า ไม่เสร็จ ทางมหาวิทยาลัย ก็ยังไม่ถือว่า นักศึกษาต่างชาติ เป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย อย่างสมบูรณ์
ซึ่งก็จะส่งผลถึง เอกสารหารขอวีซ่า ที่จะยังไม่ได้วีซ่า
ในระยะยาว จนถึงปีที่เรียนจบ
อย่างไรก็ดี มหาวิทยาลัย ก็จะออกเอกสารเพื่อขอต่อวีซ่าให้ ครั้งละ 3 เดือนเท่านั้น โดยแต่ละครั้งที่ยื่นขอต่อวีซ่า ก็จะต้องยื่นบล๊อคบัญชีทางการเงิน จากธนาคาร ให้ทางรัฐพิจารณา เป็นครั้งต่อครั้งอีกด้วยค่ะ
ข้อมูลเพิ่มเติม ของการเรียนต่อในเยอรมนี สามารถอ่านได้ที่ :
https://www.owl-education.com/what-studienkolleg/
------------------
หวังว่า เพื่อนๆ จะได้รับประโยชน์ จากบทความนี้
ไม่มากก็น้อย นะคะ
Have a nice day! & Be blessed!
ขอให้เพื่อนๆ มีความสุข สุขภาพแข็งแรง
& มี "ความหวัง" อยู่ เสมอ
-----------------
ติดตามบทความดีๆ มีประโยชน์
สร้างแรงดลบันดาลใจ พร้อมดนตรีไพเราะ
จากสามใบเถา ผู้มีหัวใจรักดนตรี ได้ที่นี่ ทุกวัน
#ความสุขแบบแม่ๆกับสามใบเถารัก
#ADrmomof3Girls #แม่ #Positive #เลี้ยงลูกด้วยทัศนคติเชิงบวก #บันทึกดีๆของแม่ลูกสาม #ครอบครัว #ดนตรี #นักไวโอลิน #นักเปียโน #ความสุข #แรงบันดาลใจ #ความสำเร็จ #เยอรมนี #ปริญญาเอก #ทัศนคติเชิงบวก #ภาษาเยอรมัน #วาดรูป #การ์ตูน #คำคม #การศึกษา