ต่อจาก กระทู้
https://ppantip.com/topic/36081698
หลุมที่เกิดจาก เชื้อเพลิงกัมมันตรังสี ที่ร้อนจัดจนหลอมเหลว ไหลลงไปด้านล่าง
และร้อนจนหลอมภาชนะ และพื้นดินใต้เตาปฏิกรณ์
ทะลุลงไปเรื่อยๆ
จากคลิป ที่ถ่ายโดยหุ่นยนต์ ที่ส่งเข้าไปสำรวจ
เห็นไอน้ำ ลอยอยู่ในโพรง
แสดงว่ามีน้ำอยู่ในนั้น และอาจพารังสีหลุดออกมา
อ่านถึง คห1 ในกระทู้ ทำให้ ผมฉุกคิด (จึงขอแสดงความคิดเห็น ในกระทู้นี้)
ความคิดเห็นที่ 1
เปิดคลิปดูแล้ว น่ากลัวอิ๊บอ๋าย
นึกวิธีจัดการกับแท่งเชื้อเพลิงที่หลอมเหลวไม่ออกเลย
โลหะที่ร้อนจนหลอมรวมกันเป็นก้อน น้ำหนักเป็นร้อยตัน
แถมร้อนขนาดหลอมทะลุพื้นที่รองรับ จนเกิดเป็นหลุมกว้างสองเมตรที่ไม่รู้ความลึก
ผมคาดการณ์ดังนี้
1) น้ำที่มีอยู่ ช่วยลดความร้อนของโลหะเหลวลงได้บางส่วน
แต่เชื้อเพลิงก็ยังร้อนมาก จนหลอมลึกลงไปได้เรื่อยๆ
เพราะเชื้อเพลิงนิวเคลียร์มีความเข้มข้น และเกิดปฏิกริยาด้วยตัวมันเองต่อเนื่องได้
2) โพรงของหลุม และกระแสไอน้ำ ทำให้ กัมมันตรังสี ลอยขึ้นมาได้ง่าย
จนมีขนาด ความเข้มข้นของรังสีสูงมาก
3) ส่วนของโลหะหลอมเหลว มีน้ำหนักเป็นตัน แต่คงไม่ใช่เป็นร้อยตัน
เพราะ ส่วนของเตา หายไปเพียงบางส่วน (ส่วนพื้น) แม้แต่ตะแกรง ก็ยังคงอยู่
พื้นคอนกรีตที่ถูกหลอมทะลุ เมื่อโลหะผ่านลงไปแล้ว ก็กลับแข็งตัวได้
4) กัมมันตรังสีที่เกิดขึ้น เราทำให้ลดลงไม่ได้ เพราะเป็นปฏิกริยานิวเคลียร์ที่มันเกิดขึ้นเอง
5) ขอบหลุมที่เกิดขึ้นจาก โลหะหลอมเหลวผ่านลงไป แล้วกลับแข็งตัว
ควรมีสภาพเป็น สแลก แข็งตัวรอบหลุม ลักษณะเป็นท่อลงไป
การซึมผ่านของน้ำ น่าจะต่ำ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ท่านที่มีความเห็นอื่น ก็ช่วยแนะด้วยครับ
น่าจะเป็นข้อสรุปว่า การนำเชื้อเพลิงหลอมเหลวก้อนนั้นขึ้นมา เป็นไปได้ยากมาก
ไม่คุ้มค่า และแทบไม่มีประโยชน์
สิ่งที่น่าทำ คือ หยุดการแพร่ของกัมมันตรังสี
โดยการถมทรายลงไปในหลุมจนเต็ม
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้[ ไม่แน่ใจว่า จะนำกากเชื้อเพลิง ที่แช่น้ำอยู่รอบๆโรงไฟฟ้า ถมลงไปก่อนถมทรายได้หรือไม่ จะได้จบเรื่องไปทีเดียว ]
ทรายจะปิดกั้น ไม่ให้กัมมันตรังสีออกมาได้
โลหะหลอมเหลว จะเสียความร้อนยากขึ้น และร้อนขึ้นมาก
มันจะหลอมพื้นล่างทะลุลงไปได้เร็วขึ้น จนลงไปรวมกับแมกมา หายไป
พื้นที่รอบโรงไฟฟ้า ก็ต้องรอเวลาให้กัมมันตรังสีลดลง นานพอ
(คงหลายสิบปี)
ญี่ปุ่น TEPCO พบ หลุมขนาดยักษ์!!! ใต้อ่างปฎิกรณ์โรงไฟฟ้า FUKUSHIMA!!! [ ความเห็น ]
หลุมที่เกิดจาก เชื้อเพลิงกัมมันตรังสี ที่ร้อนจัดจนหลอมเหลว ไหลลงไปด้านล่าง
และร้อนจนหลอมภาชนะ และพื้นดินใต้เตาปฏิกรณ์
ทะลุลงไปเรื่อยๆ
จากคลิป ที่ถ่ายโดยหุ่นยนต์ ที่ส่งเข้าไปสำรวจ
เห็นไอน้ำ ลอยอยู่ในโพรง
แสดงว่ามีน้ำอยู่ในนั้น และอาจพารังสีหลุดออกมา
อ่านถึง คห1 ในกระทู้ ทำให้ ผมฉุกคิด (จึงขอแสดงความคิดเห็น ในกระทู้นี้)
ความคิดเห็นที่ 1
เปิดคลิปดูแล้ว น่ากลัวอิ๊บอ๋าย
นึกวิธีจัดการกับแท่งเชื้อเพลิงที่หลอมเหลวไม่ออกเลย
โลหะที่ร้อนจนหลอมรวมกันเป็นก้อน น้ำหนักเป็นร้อยตัน
แถมร้อนขนาดหลอมทะลุพื้นที่รองรับ จนเกิดเป็นหลุมกว้างสองเมตรที่ไม่รู้ความลึก
ผมคาดการณ์ดังนี้
1) น้ำที่มีอยู่ ช่วยลดความร้อนของโลหะเหลวลงได้บางส่วน
แต่เชื้อเพลิงก็ยังร้อนมาก จนหลอมลึกลงไปได้เรื่อยๆ
เพราะเชื้อเพลิงนิวเคลียร์มีความเข้มข้น และเกิดปฏิกริยาด้วยตัวมันเองต่อเนื่องได้
2) โพรงของหลุม และกระแสไอน้ำ ทำให้ กัมมันตรังสี ลอยขึ้นมาได้ง่าย
จนมีขนาด ความเข้มข้นของรังสีสูงมาก
3) ส่วนของโลหะหลอมเหลว มีน้ำหนักเป็นตัน แต่คงไม่ใช่เป็นร้อยตัน
เพราะ ส่วนของเตา หายไปเพียงบางส่วน (ส่วนพื้น) แม้แต่ตะแกรง ก็ยังคงอยู่
พื้นคอนกรีตที่ถูกหลอมทะลุ เมื่อโลหะผ่านลงไปแล้ว ก็กลับแข็งตัวได้
4) กัมมันตรังสีที่เกิดขึ้น เราทำให้ลดลงไม่ได้ เพราะเป็นปฏิกริยานิวเคลียร์ที่มันเกิดขึ้นเอง
5) ขอบหลุมที่เกิดขึ้นจาก โลหะหลอมเหลวผ่านลงไป แล้วกลับแข็งตัว
ควรมีสภาพเป็น สแลก แข็งตัวรอบหลุม ลักษณะเป็นท่อลงไป
การซึมผ่านของน้ำ น่าจะต่ำ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
น่าจะเป็นข้อสรุปว่า การนำเชื้อเพลิงหลอมเหลวก้อนนั้นขึ้นมา เป็นไปได้ยากมาก
ไม่คุ้มค่า และแทบไม่มีประโยชน์
สิ่งที่น่าทำ คือ หยุดการแพร่ของกัมมันตรังสี
โดยการถมทรายลงไปในหลุมจนเต็ม
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ทรายจะปิดกั้น ไม่ให้กัมมันตรังสีออกมาได้
โลหะหลอมเหลว จะเสียความร้อนยากขึ้น และร้อนขึ้นมาก
มันจะหลอมพื้นล่างทะลุลงไปได้เร็วขึ้น จนลงไปรวมกับแมกมา หายไป
พื้นที่รอบโรงไฟฟ้า ก็ต้องรอเวลาให้กัมมันตรังสีลดลง นานพอ
(คงหลายสิบปี)