(ไม่มีตังจ้างนักกฎหมายเขียน เขียนเองก็ได้ )
มาตราที่ ๑.....ร่าง...พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า พระราชบัญญัติรับราชการทหาร ปี พุทธศักราช ๒๕๖๐
มาตราที่ ๒....ให้ใช้บังคับหลังจากประกาศใน........วัน หลังจากประกาศใน.................เล่ม...........
มาตราที่ 3...ให้ยกเลิก พระราชบัญญัติรับราชการทหาร ปีพุทธศักราช ๒๔๗๙ และบรรดากฏกระทรวง หรือคำสั่งคณะปฎิวัตร ที่ใช้บังคับในพระราชบัญญัติรับราชการทหาร ปีพุทธศักราช ๒๔๗๙
มาตราที่ ๔ ...ในพระราชบัญญัตินี้
พลอาสามัครประจำการ หมายถึง บุคคลผู้ผ่านการทดสอบ ให้เข้ารับราชการทหาร กองประจำการ และต้องได้รับความยินยอมจากทางบิดา มารดา หรือ ผู้ปกครองในขณะนั้น และ ต้องไม่เป็นโรคที่ขัดต่อการรับราชการทหาร ตามประกาศของกระทรวง
ครูฝึกทหาร หมายถึง นายทหารสัญญาบัตรที่ ได้รับ แต่งตั้ง จาก กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยต้นสังกัด ในการฝึกวินัยทหารและจะต้องผ่านการตรวจสุขภาพจิต ทุกๆ 6 เดือน เป็นประจำ ผู้ที่แพทย์จิตเวชชี้ว่า มีความผิดปกติ ไม่มีสิทธิเป็น ครูฝึก
จิตแพทย์ หมายถึง แพทย์ที่ได้รับการว่าจ้างจาก กระทรวง ทบวง กรม ให้ทำหน้าที่ตรวจสุขภาพจิต พลอาสาสมัครประจำการและต้องเป็นแพทย์ ผู้เชียวชาญทางด้านจิตเวช และได้รับใบอนุญาติ จาก แพทย์สภา
ผู้กำกับการ หมายถึง นายทหารสัญญาบัตร ที่มี ยศ ตั้งแต่ พันตรี ขึ้นไป ทำหน้าที่กำกับดูแล ควบคุมการฝึกของ ทหาร และจะต้องรับผิดชอบชีวิตและการกระทำของผู้ใต้บังคับบัญชา ตามสำควรของการตัดสิน
ผู้ตรวจการ หมายถึง นายทหารสัญญาบัตรชั้น พันเอก หรือ นายพล ทำหน้าที่ตรวจเยือม พลอาสาสมัคร เป็นประจำทุกเดือนในระยะเวลาการฝึก ตามกำหนดของกระทรวง
คณะผู้ตรวจสอบ หมายถึง นายทหารพระธรรมนูญ ที่ได้รับ การแต่งตั้ง จาก กระทรวง ทบวง กรม ในการสอบสวนการกระทำผิดวินัย ของครูฝึกทหารนายทหาร และนายทหาร ตามคำสั่งจากกองทัพ หรือ ผู้ร้องเรียน หรือ ผู้ที่ได้รับความเสียหายโดยตรง
ผู้เสียภาษีบำรุ่งกองทัพ ตามพระราชบัญญัตินี้ หมายถึง ชายไทยที่มีอายุ ระหว่าง 22 ปี ถึง 37 ปี ต้องชำระภาษีบำรุงกองทัพ ตามกำหนดใน พระราชบัญญัตินี้ตามบัญชีท้ายบท หรือ ประกาศตามกฎกระทรวง
หมวดที่ ๑ บทบัญญัติทั่วไป
มาตราที่ ๕........ ชายไทยที่มีอายุระหว่าง 22 ปี ถึง 37 ปี ต้องชำระภาษีบำรุงกองทัพ ต่อปี ตามบัญชีท้ายบท หรือ ประกาศของกระทรวง
บุคคลผู้ได้รับการ ยกเว้นไม่ต้องชำระภาษีบำรุ่งกองทัพ
1.ผู้เป็นหรือเคยเป็น พลอาสาสมัครกองประจำการ ได้รับการยกเว้นตลอดชีวิต
2.พระภิกษุสงฆ์สามเณร ตลอดกาลดำรง สมณะเพศ
3.ผู้ไม่ได้ประกอบอาชืพ หรือ ไม่มีรายได้
ผู้ต้องจ่ายภาษีบำรุ่งกองทัพ
1.ชายผู้มีอายุระหว่าง 22 ปี ถึง 37 ปี ไม่มีการยกเว้นไม่ว่า จะเป็นข้าราชการของรํฐ หรือ รัฐวิสหกิจ เป็นไปตามบัญชีแนบท้าย
2.ชายผู้มีอายุระหว่าง 18 ปี ถึง 21 ปี ต้องชำระค่าธรรมเนียมกองทัพ ตามประกาศบัญชีแนบท้าย
มาตราที่ ๖......... บุคคลผู้เสียภาษี หรือ บุคคลผู้เสียค่าธรรมเนียมกองทัพ จักต้องแจ้งต่อ ที่ว่าการอำเภอ เพื่อ ขอชำระค่าธรรมเนียมกองทัพตามประกาศของกฎกระทรวงท้ายบท และผู้ที่ได้รับการยกเว้นค่าธรรมเนียมจะต้องมีหนังสือ ยกเว้น จากสัสดีอำเภอ
หมวดที่ ๒ การรับราชการทหาร
มาตราที่ ๗..........ผู้ที่จะรับราชการในตำแหน่ง พลอาสาสัครประจำการ จะต้องเป็นชาย หรือ หญิง อายุระหว่าง 18 ปี ถึง 28 ปี และจักต้องไม่เป็นโรคที่ขัดต่อการรับราชการทหารตามประกาศของกระทรวง และ สามารถรับการฝึก ตามกำหนดของกองทัพได้ ในกรณีที่
พลอาสาสมัครเป็นผู้หญิง ให้ ใช้ ครูฝึกที่เป็นผู้หญิง เท่านั้น และการฝึกห้ามปะปนกับการฝึกของผู้ชายโดยเด็ดขาด
และจะต้องเป็นไปตามกำนดในพระราชบัญญัตินี้ การแก้ไข้เปลื่อนแปลงให้เป็นไปตามประกาศกระทรวง
มาตราที่ ๘ ..........ให้ พลอาสาสมัคร ทุกนายทำสัญญาประจำการ และจะต้องประจำการไม่น้อยกว่า 5 ปี หรือ ตามประกาศของกระทรวง
การนับลำดับชั้นทหาร หรือ ยศทหาร ให้เรียกว่า พลอาสาสมัครกองประจำการ และสามารถใช้เป็นคำนำหน้าได้
มาตราที่ ๙.......... ทหารอาสาสมัคร มีสิทธิ ใน การลาออกจากการประจำการได้ ตามเห็นสมควรของตน และ จะต้อง คืนเงินเดือนในช่วงที่ประจำการทั้งหมดให้กองทัพ พร้อม เสีย ภาษีบำรุงกองทัพ ย้อนหลัง ตามเวลาที่ได้ประจำการ
มาตราที่ ๑๐........การพ้นจากการประจำการ
๑.ประจำการครบตามที่ระบุไว้ในสัญญาของกองทัพ
๒.ลาออกจากกองทัพ ตามความใน มาตรา ๙
๓.ถูกสั่งให้พ้นจากราชการ ตามประกาศของกระทรวง
๔.ตกเป็นจำเลยในคดีอาญา ให้พ้นราชการตั้งแต่ตกเป็นจำเลย ในคดีอาญา
หมวดที่ ๓ สวัสดิการที่จะได้รับ
มาตราที่ ๑๑..........พลอาสาสมัครประจำการ มีสิทธิเบิกค่าใช้จ่ายที่จำเป็นดังต่อไปนี้
๑.ค่ารักษาพยาบาลตนเองไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น ไม่จำกัดจำนวนครั่ง
๒.ค่ารักษาพยาบาลบุตร ธิดา ได้ไม่เกิน 50000 บาทต่อปี
๓.ค่ารักษาบิดามารดาของทหาร ได้ไม่เกิน 100000 บาทต่อปี
๔.ค่าเล่าเรียนบุตรในช่วงที่ประจำการ ไม่เกิน 50000 บาทต่อปี
๕.วันหยุดยาว ให้ยุดได้ไม่เกิน 15 วันต่อปี และ สามารถรับเงินเดือนตามปกติ เหมือนช่วงเวลาประจำการ
๖.ตั่วเครื่องบินไปกลับ ต่างประเทศ 2 ตั่วต่อปี
๗.โบนัท ต้นปี เป็นไปตามประกาศของบัญชีท้ายบท
มาตราที่ ๑๒...........ในกรณีเสียชีวิต หรือ ทุพลภาพ ของ พลอาสาสมัคร สามารถขอพระราชทานยศทหารได้ไม่เกิน ร้อยตรี ดังนี้
๑.เสียชีวิตระหว่างปฎิบัตรหน้าที่
๒.ทุพลภาพในระหว่างประปฎิบัตรหน้าที่
หมวดที่ ๔ การฝึกทหาร อาสา
มาตราที่ ๑๓...........ในการฝึกทหารใหม่ มีระยะเวลา 6 เดือน ผู้ผ่านการทดสอบให้เข้ารับราชการทหารอาสา จะต้องฝึกร่วมกับทหารใหม่ทั่วประเทศตามที่ ผู้บัญชาการทหาร เลือกสถานที่ ในการฝึก และในบรรดาครูฝึกจักต้องเป็นผู้ผ่านการทดสอบ ตามความใน มาตรา ๔
แห่งพระราชบัญญัตินี้ โดยแบ่งการฝึกออกเป็น 3 ช่วง
ช่วงที่ 1 ฝึกกับ กองทัพบก ในหน่วยทหารราบ เป็นระยะเวลา 2 เดือน
ช่วงที่ 2 ฝึกกับ กองทัพเรือ ในหน่วยราชนาวี เป็นระยะเวลา 2 เดือน
ช่วงที่ 3 ฝึกกับ กองทัพอากาศ ในหน่วยอากาศโยธิน เป็นระยะเวลา 2 เดือน
มาตราที่ ๑๔.........ในการฝึกภาควิชาการ เป็นเวลา 6 เดือน ผู้ผ่านการฝึกทหารใหม่ทั้งหมดจะต้องฝึกภาควิชาการเป็นเวลา 6 เดือน
ในสาขาวิชาที่กองทัพกำหนด หากผ่านภาควิชาการ สามารถประจำการ ภายในส่วนต่างของกองทัพไทย
ตามความเห็นสมควรของ ผู้บัญชาการหน่วยต่างๆ มีระยะเวลา ประจำการ ๔ ปี หรือตามใบสัญญา
มาตราที่ ๑๕..........ในการฝึกทหาร จำเป็นต้องมี จิตแพทย์ สัญแพทย์ อายุรแพทย์ ตามอัตตราส่วนของผู้รับการฝึก ทั้งหมด
ในอัตรตาส่วน 50 คน แพทย์ 3 คน 1.จิตแพทย์ 2.อายุรแพทย์ 3.สัญแพทย์ พร้อมอุปกรณ์ทางการแพทย์
และบุคคลการทางพยาบาล ตามที่ แพทย์เห็นสมควร งบประมาณให้เป็นไปตามบัญชีท้ายบท
มาตราที่ ๑๖...........ในการฝึกทหารใหม่ ต้องมี คณะผู้ตรวจการ และ ผู้กำกับการ ตรวจสอบอยู่ในช่วงระยะเวลาการฝึก จนกว่าการฝึกจะเสร็จสิ้น
มาตราที่ ๑๗..........การฝึกทหารใหม่ให้เป็นไปตามข้อบังคับแห่งกฎกระทรวง
หมวดที่ ๕ ความรับผิดชอบ
มาตราที่ ๑๙..........ในการฝึกทหารใหม่ หากพบว่า มีการกระทำรุนแรงต่อผู้รับการฝึก การฝึกทั้งหมดจะต้องถูกระงับทันที่ หรือ ตามคำสั่งของคณะผู้ตรวจ การ เพื่อทำการสอบสวนวินัยร้ายแรง ดังต่อไปนี้
๑.พบว่ามีการ ทารุณกรรม ทหารใหม่
๒.พบว่ามีการล่วงละเมิดทางเพศ
๓.พบว่ามีการเสียชีวิต
มาตราที่ ๒๐...........หากมีการพบการกระทำตาม มาตรา ๑๙ ให้อำนาจการตั้ง คณะกรรมการสอบวินัยร้ายแรง ประกอบด้วยบุคคล
ดังนี้
๑.ผู้บัญชาการมลฑลทหารบก ผู้รับผิดชอบพื้นที่การฝึก
๒.ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือ รองผู้ว่าราชการ จังหวัด ในพื้นที่การฝึก
๓.ผู้พิพากษาประจำจังหวัดในพื้นที่เขตรับผิดชอบ
๔.อัยการจังหวัด ในพื้นที่เกิดเหตุ
๕.ผู้บัญชาการตำรวจภูธ ในเขตรับผิด พื้นที่เกิดเหตุ
๖.พนักงาน ฝ่ายทหาร ฝ่ายตำรวจ ฝ่ายข้าราชการพลเรือน ฝ่ายอัยการ
จำนวนไม่น้อยกว่า ฝ่ายละ 10 นาย
มาตราที่ ๒๑.........ผู้ที่ถูกรับการสอบสวน จะต้องงดปฎิบัตรหน้าที่ทันที่ หรือ ให้พ้นจากราชการไว้ก่อน หากมีการชี้ความผิด จะต้องคืนยศ และตำแหน่ง หรือ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ราชการทันที่ และ จะต้องถูกพิจรณาคดี ในศาลจังหวัด ที่เกิดเหตุในกรณี สืบสวนแล้วไม่มีความผิด จะต้องทำเรื่องขอ คืนยศ และตำแหน่ง คืนจาก กระทรวง
มาตราที่ ๒๒.........ผู้ถูกสอบสวนจะไม่สามรถใช้ตำแหน่งหรือยศประกันตัวได้ ตาม มาตรา ๒๑ และการพิจรณาคดี ให้เป็นไปตามกฎหมายอาญา และวิธีพิจรณาความอาญา
หมวดที่ ๖ บทเฉพาะการ
บัญชีแนบท้ายให้เป็นไปตามประกาศกระทรวง
หลังจากประกาศใช้ จะไม่มีการใช้ พระราชบัญญัติรับราชการทหาร ปี 2497
จะไม่มีการเรียกบุคคลใดเข้าประจำการ ในกองทัพ ยกเว้นระดมพลสำรองเพื่อการฝึกเท่านั้น
ร่าง พระราชบัญญัติรับราชการทหาร ปี พุทธศักราช 2560 ยกเลิกทหารเกรฑ์
มาตราที่ ๑.....ร่าง...พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า พระราชบัญญัติรับราชการทหาร ปี พุทธศักราช ๒๕๖๐
มาตราที่ ๒....ให้ใช้บังคับหลังจากประกาศใน........วัน หลังจากประกาศใน.................เล่ม...........
มาตราที่ 3...ให้ยกเลิก พระราชบัญญัติรับราชการทหาร ปีพุทธศักราช ๒๔๗๙ และบรรดากฏกระทรวง หรือคำสั่งคณะปฎิวัตร ที่ใช้บังคับในพระราชบัญญัติรับราชการทหาร ปีพุทธศักราช ๒๔๗๙
มาตราที่ ๔ ...ในพระราชบัญญัตินี้
พลอาสามัครประจำการ หมายถึง บุคคลผู้ผ่านการทดสอบ ให้เข้ารับราชการทหาร กองประจำการ และต้องได้รับความยินยอมจากทางบิดา มารดา หรือ ผู้ปกครองในขณะนั้น และ ต้องไม่เป็นโรคที่ขัดต่อการรับราชการทหาร ตามประกาศของกระทรวง
ครูฝึกทหาร หมายถึง นายทหารสัญญาบัตรที่ ได้รับ แต่งตั้ง จาก กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยต้นสังกัด ในการฝึกวินัยทหารและจะต้องผ่านการตรวจสุขภาพจิต ทุกๆ 6 เดือน เป็นประจำ ผู้ที่แพทย์จิตเวชชี้ว่า มีความผิดปกติ ไม่มีสิทธิเป็น ครูฝึก
จิตแพทย์ หมายถึง แพทย์ที่ได้รับการว่าจ้างจาก กระทรวง ทบวง กรม ให้ทำหน้าที่ตรวจสุขภาพจิต พลอาสาสมัครประจำการและต้องเป็นแพทย์ ผู้เชียวชาญทางด้านจิตเวช และได้รับใบอนุญาติ จาก แพทย์สภา
ผู้กำกับการ หมายถึง นายทหารสัญญาบัตร ที่มี ยศ ตั้งแต่ พันตรี ขึ้นไป ทำหน้าที่กำกับดูแล ควบคุมการฝึกของ ทหาร และจะต้องรับผิดชอบชีวิตและการกระทำของผู้ใต้บังคับบัญชา ตามสำควรของการตัดสิน
ผู้ตรวจการ หมายถึง นายทหารสัญญาบัตรชั้น พันเอก หรือ นายพล ทำหน้าที่ตรวจเยือม พลอาสาสมัคร เป็นประจำทุกเดือนในระยะเวลาการฝึก ตามกำหนดของกระทรวง
คณะผู้ตรวจสอบ หมายถึง นายทหารพระธรรมนูญ ที่ได้รับ การแต่งตั้ง จาก กระทรวง ทบวง กรม ในการสอบสวนการกระทำผิดวินัย ของครูฝึกทหารนายทหาร และนายทหาร ตามคำสั่งจากกองทัพ หรือ ผู้ร้องเรียน หรือ ผู้ที่ได้รับความเสียหายโดยตรง
ผู้เสียภาษีบำรุ่งกองทัพ ตามพระราชบัญญัตินี้ หมายถึง ชายไทยที่มีอายุ ระหว่าง 22 ปี ถึง 37 ปี ต้องชำระภาษีบำรุงกองทัพ ตามกำหนดใน พระราชบัญญัตินี้ตามบัญชีท้ายบท หรือ ประกาศตามกฎกระทรวง
หมวดที่ ๑ บทบัญญัติทั่วไป
มาตราที่ ๕........ ชายไทยที่มีอายุระหว่าง 22 ปี ถึง 37 ปี ต้องชำระภาษีบำรุงกองทัพ ต่อปี ตามบัญชีท้ายบท หรือ ประกาศของกระทรวง
บุคคลผู้ได้รับการ ยกเว้นไม่ต้องชำระภาษีบำรุ่งกองทัพ
1.ผู้เป็นหรือเคยเป็น พลอาสาสมัครกองประจำการ ได้รับการยกเว้นตลอดชีวิต
2.พระภิกษุสงฆ์สามเณร ตลอดกาลดำรง สมณะเพศ
3.ผู้ไม่ได้ประกอบอาชืพ หรือ ไม่มีรายได้
ผู้ต้องจ่ายภาษีบำรุ่งกองทัพ
1.ชายผู้มีอายุระหว่าง 22 ปี ถึง 37 ปี ไม่มีการยกเว้นไม่ว่า จะเป็นข้าราชการของรํฐ หรือ รัฐวิสหกิจ เป็นไปตามบัญชีแนบท้าย
2.ชายผู้มีอายุระหว่าง 18 ปี ถึง 21 ปี ต้องชำระค่าธรรมเนียมกองทัพ ตามประกาศบัญชีแนบท้าย
มาตราที่ ๖......... บุคคลผู้เสียภาษี หรือ บุคคลผู้เสียค่าธรรมเนียมกองทัพ จักต้องแจ้งต่อ ที่ว่าการอำเภอ เพื่อ ขอชำระค่าธรรมเนียมกองทัพตามประกาศของกฎกระทรวงท้ายบท และผู้ที่ได้รับการยกเว้นค่าธรรมเนียมจะต้องมีหนังสือ ยกเว้น จากสัสดีอำเภอ
หมวดที่ ๒ การรับราชการทหาร
มาตราที่ ๗..........ผู้ที่จะรับราชการในตำแหน่ง พลอาสาสัครประจำการ จะต้องเป็นชาย หรือ หญิง อายุระหว่าง 18 ปี ถึง 28 ปี และจักต้องไม่เป็นโรคที่ขัดต่อการรับราชการทหารตามประกาศของกระทรวง และ สามารถรับการฝึก ตามกำหนดของกองทัพได้ ในกรณีที่
พลอาสาสมัครเป็นผู้หญิง ให้ ใช้ ครูฝึกที่เป็นผู้หญิง เท่านั้น และการฝึกห้ามปะปนกับการฝึกของผู้ชายโดยเด็ดขาด
และจะต้องเป็นไปตามกำนดในพระราชบัญญัตินี้ การแก้ไข้เปลื่อนแปลงให้เป็นไปตามประกาศกระทรวง
มาตราที่ ๘ ..........ให้ พลอาสาสมัคร ทุกนายทำสัญญาประจำการ และจะต้องประจำการไม่น้อยกว่า 5 ปี หรือ ตามประกาศของกระทรวง
การนับลำดับชั้นทหาร หรือ ยศทหาร ให้เรียกว่า พลอาสาสมัครกองประจำการ และสามารถใช้เป็นคำนำหน้าได้
มาตราที่ ๙.......... ทหารอาสาสมัคร มีสิทธิ ใน การลาออกจากการประจำการได้ ตามเห็นสมควรของตน และ จะต้อง คืนเงินเดือนในช่วงที่ประจำการทั้งหมดให้กองทัพ พร้อม เสีย ภาษีบำรุงกองทัพ ย้อนหลัง ตามเวลาที่ได้ประจำการ
มาตราที่ ๑๐........การพ้นจากการประจำการ
๑.ประจำการครบตามที่ระบุไว้ในสัญญาของกองทัพ
๒.ลาออกจากกองทัพ ตามความใน มาตรา ๙
๓.ถูกสั่งให้พ้นจากราชการ ตามประกาศของกระทรวง
๔.ตกเป็นจำเลยในคดีอาญา ให้พ้นราชการตั้งแต่ตกเป็นจำเลย ในคดีอาญา
หมวดที่ ๓ สวัสดิการที่จะได้รับ
มาตราที่ ๑๑..........พลอาสาสมัครประจำการ มีสิทธิเบิกค่าใช้จ่ายที่จำเป็นดังต่อไปนี้
๑.ค่ารักษาพยาบาลตนเองไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น ไม่จำกัดจำนวนครั่ง
๒.ค่ารักษาพยาบาลบุตร ธิดา ได้ไม่เกิน 50000 บาทต่อปี
๓.ค่ารักษาบิดามารดาของทหาร ได้ไม่เกิน 100000 บาทต่อปี
๔.ค่าเล่าเรียนบุตรในช่วงที่ประจำการ ไม่เกิน 50000 บาทต่อปี
๕.วันหยุดยาว ให้ยุดได้ไม่เกิน 15 วันต่อปี และ สามารถรับเงินเดือนตามปกติ เหมือนช่วงเวลาประจำการ
๖.ตั่วเครื่องบินไปกลับ ต่างประเทศ 2 ตั่วต่อปี
๗.โบนัท ต้นปี เป็นไปตามประกาศของบัญชีท้ายบท
มาตราที่ ๑๒...........ในกรณีเสียชีวิต หรือ ทุพลภาพ ของ พลอาสาสมัคร สามารถขอพระราชทานยศทหารได้ไม่เกิน ร้อยตรี ดังนี้
๑.เสียชีวิตระหว่างปฎิบัตรหน้าที่
๒.ทุพลภาพในระหว่างประปฎิบัตรหน้าที่
หมวดที่ ๔ การฝึกทหาร อาสา
มาตราที่ ๑๓...........ในการฝึกทหารใหม่ มีระยะเวลา 6 เดือน ผู้ผ่านการทดสอบให้เข้ารับราชการทหารอาสา จะต้องฝึกร่วมกับทหารใหม่ทั่วประเทศตามที่ ผู้บัญชาการทหาร เลือกสถานที่ ในการฝึก และในบรรดาครูฝึกจักต้องเป็นผู้ผ่านการทดสอบ ตามความใน มาตรา ๔
แห่งพระราชบัญญัตินี้ โดยแบ่งการฝึกออกเป็น 3 ช่วง
ช่วงที่ 1 ฝึกกับ กองทัพบก ในหน่วยทหารราบ เป็นระยะเวลา 2 เดือน
ช่วงที่ 2 ฝึกกับ กองทัพเรือ ในหน่วยราชนาวี เป็นระยะเวลา 2 เดือน
ช่วงที่ 3 ฝึกกับ กองทัพอากาศ ในหน่วยอากาศโยธิน เป็นระยะเวลา 2 เดือน
มาตราที่ ๑๔.........ในการฝึกภาควิชาการ เป็นเวลา 6 เดือน ผู้ผ่านการฝึกทหารใหม่ทั้งหมดจะต้องฝึกภาควิชาการเป็นเวลา 6 เดือน
ในสาขาวิชาที่กองทัพกำหนด หากผ่านภาควิชาการ สามารถประจำการ ภายในส่วนต่างของกองทัพไทย
ตามความเห็นสมควรของ ผู้บัญชาการหน่วยต่างๆ มีระยะเวลา ประจำการ ๔ ปี หรือตามใบสัญญา
มาตราที่ ๑๕..........ในการฝึกทหาร จำเป็นต้องมี จิตแพทย์ สัญแพทย์ อายุรแพทย์ ตามอัตตราส่วนของผู้รับการฝึก ทั้งหมด
ในอัตรตาส่วน 50 คน แพทย์ 3 คน 1.จิตแพทย์ 2.อายุรแพทย์ 3.สัญแพทย์ พร้อมอุปกรณ์ทางการแพทย์
และบุคคลการทางพยาบาล ตามที่ แพทย์เห็นสมควร งบประมาณให้เป็นไปตามบัญชีท้ายบท
มาตราที่ ๑๖...........ในการฝึกทหารใหม่ ต้องมี คณะผู้ตรวจการ และ ผู้กำกับการ ตรวจสอบอยู่ในช่วงระยะเวลาการฝึก จนกว่าการฝึกจะเสร็จสิ้น
มาตราที่ ๑๗..........การฝึกทหารใหม่ให้เป็นไปตามข้อบังคับแห่งกฎกระทรวง
หมวดที่ ๕ ความรับผิดชอบ
มาตราที่ ๑๙..........ในการฝึกทหารใหม่ หากพบว่า มีการกระทำรุนแรงต่อผู้รับการฝึก การฝึกทั้งหมดจะต้องถูกระงับทันที่ หรือ ตามคำสั่งของคณะผู้ตรวจ การ เพื่อทำการสอบสวนวินัยร้ายแรง ดังต่อไปนี้
๑.พบว่ามีการ ทารุณกรรม ทหารใหม่
๒.พบว่ามีการล่วงละเมิดทางเพศ
๓.พบว่ามีการเสียชีวิต
มาตราที่ ๒๐...........หากมีการพบการกระทำตาม มาตรา ๑๙ ให้อำนาจการตั้ง คณะกรรมการสอบวินัยร้ายแรง ประกอบด้วยบุคคล
ดังนี้
๑.ผู้บัญชาการมลฑลทหารบก ผู้รับผิดชอบพื้นที่การฝึก
๒.ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือ รองผู้ว่าราชการ จังหวัด ในพื้นที่การฝึก
๓.ผู้พิพากษาประจำจังหวัดในพื้นที่เขตรับผิดชอบ
๔.อัยการจังหวัด ในพื้นที่เกิดเหตุ
๕.ผู้บัญชาการตำรวจภูธ ในเขตรับผิด พื้นที่เกิดเหตุ
๖.พนักงาน ฝ่ายทหาร ฝ่ายตำรวจ ฝ่ายข้าราชการพลเรือน ฝ่ายอัยการ
จำนวนไม่น้อยกว่า ฝ่ายละ 10 นาย
มาตราที่ ๒๑.........ผู้ที่ถูกรับการสอบสวน จะต้องงดปฎิบัตรหน้าที่ทันที่ หรือ ให้พ้นจากราชการไว้ก่อน หากมีการชี้ความผิด จะต้องคืนยศ และตำแหน่ง หรือ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ราชการทันที่ และ จะต้องถูกพิจรณาคดี ในศาลจังหวัด ที่เกิดเหตุในกรณี สืบสวนแล้วไม่มีความผิด จะต้องทำเรื่องขอ คืนยศ และตำแหน่ง คืนจาก กระทรวง
มาตราที่ ๒๒.........ผู้ถูกสอบสวนจะไม่สามรถใช้ตำแหน่งหรือยศประกันตัวได้ ตาม มาตรา ๒๑ และการพิจรณาคดี ให้เป็นไปตามกฎหมายอาญา และวิธีพิจรณาความอาญา
หมวดที่ ๖ บทเฉพาะการ
บัญชีแนบท้ายให้เป็นไปตามประกาศกระทรวง
หลังจากประกาศใช้ จะไม่มีการใช้ พระราชบัญญัติรับราชการทหาร ปี 2497
จะไม่มีการเรียกบุคคลใดเข้าประจำการ ในกองทัพ ยกเว้นระดมพลสำรองเพื่อการฝึกเท่านั้น