แม้กฎหมายจะยอมรับให้พระภิกษุมีทรัพย์สินได้ แต่ก็เป็นการต้องห้าม
โดยพระธรรมวินัย ดังนั้น ก่อนที่บุคคลจะเข้ามาบาชเปลี่ยนสถานะจากคนมาเป็นพระ
จึงต้องมีการสละทรัพย์สินที่มีอยู่ทั้งปวงเพื่อความบริสุทธิผุดผ่องและปลอดจากการติดยึด
ในวัตถุทั้งปวงตามหลักการของพระพุทธศาสนา
ปัญหาคือ แล้วการที่มีประชาชนบริจาคทรัพย์ให้พระจะเป็นอย่างไร เรื่องนี้กฎหมายถือว่า
พุทธศาสนิกชนทำบุญไม่ได้มุ่งหมายให้เป็นการส่วนตัว ซึ่งการถือเช่นนี้ย่อมสอดคล้อง
กับหลักการของพระพุทธศาสนาที่ห้ามพระภิกษุสงฆ์เป็นเจ้าของทรัพย์สิน
ฉะนั้น พระภิกษุรูปใดมีความประพฤติ รับ ยักยอก โขมยเอาทรัพย์คือเงินบริจาคของวัดไปเป็นของตัวเอง
หรือมูลนิธิที่ตัวเองเป็นเจ้าของ พึงแก้ไข
อ้างอิง : เอกสารงานวิจัยของผู้พิพากษา
http://elib.coj.go.th/Ebook/data/judge_report/jrp2557_13_19.pdf
หน้า 19 บรรทัดสุดท้ายของย่อหน้าแรก
ภาพถ่ายข้อความที่อ้างอิง :
พุทธศาสนิกชนทำบุญไม่ได้มุ่งหมายให้เป็นการส่วนตัว
โดยพระธรรมวินัย ดังนั้น ก่อนที่บุคคลจะเข้ามาบาชเปลี่ยนสถานะจากคนมาเป็นพระ
จึงต้องมีการสละทรัพย์สินที่มีอยู่ทั้งปวงเพื่อความบริสุทธิผุดผ่องและปลอดจากการติดยึด
ในวัตถุทั้งปวงตามหลักการของพระพุทธศาสนา
ปัญหาคือ แล้วการที่มีประชาชนบริจาคทรัพย์ให้พระจะเป็นอย่างไร เรื่องนี้กฎหมายถือว่า
พุทธศาสนิกชนทำบุญไม่ได้มุ่งหมายให้เป็นการส่วนตัว ซึ่งการถือเช่นนี้ย่อมสอดคล้อง
กับหลักการของพระพุทธศาสนาที่ห้ามพระภิกษุสงฆ์เป็นเจ้าของทรัพย์สิน
ฉะนั้น พระภิกษุรูปใดมีความประพฤติ รับ ยักยอก โขมยเอาทรัพย์คือเงินบริจาคของวัดไปเป็นของตัวเอง
หรือมูลนิธิที่ตัวเองเป็นเจ้าของ พึงแก้ไข
อ้างอิง : เอกสารงานวิจัยของผู้พิพากษา http://elib.coj.go.th/Ebook/data/judge_report/jrp2557_13_19.pdf
หน้า 19 บรรทัดสุดท้ายของย่อหน้าแรก
ภาพถ่ายข้อความที่อ้างอิง :