ปัญหาที่ควรได้รับการเยียวยาจากสำนักงานคุ้มครองผู้บริโภค ( CHAPTER 2) ...Ottoke !!

เนื่องจากกระทู้แรก ( Chapter 1) ของเราได้ถูกลบไป เนืองจากเราดันไปอ้าง บริษัทยักษ์ใหญ่ผู้ให้บริการแบบเสียตังค์ เราได้ลองโพสต์กระทู้อันแรกออกไป ยังไม่ถึงนาที โดนลบค่ะ ขอลองของค่ะ ต้องขอขอบคุณที่ทำให้เรามีเวลามากกว่าเดิมที่จะมาพิจารณาบทความของตัวเองลืมไปว่าทางบริษัทสามารถเรียกร้องผ่าน ict  law ต้องขอบคุณ #starbuckcoffeethailand and #fujigreentea ที่ทำให้ตื่นตัวตลอดเวลานะคะ รถขยะที่บ้านมาเก็บแล้ว
(My first one was all of the sudden deleted from Pantip Forum, thanks for my first challenging to the provider. Thanks for being with me all night. I will keep post this. Thanks for allowing me more time to write my own content which is project by ppantip.com. The case will be raise if this has been deleted again) If you let this forum goes, this will not catch all attentions, as this will be posted in the morning. Thank you to #starbuckscoffeethailand and #Fujigreentea to keep me awake/alert tonight. Oh, the garbage car was left.

หลังจากที่ห่างหายจากการเป็นนักเลงคีย์บอร์ด ของเวป ppantip.com มานาน ปีใหม่ทีผ่านมาเราหวังได้มีเวลาดู หนังภาษาอังกฤษที่เราพลาดไม่ได้ดูตลอดปีในโรง หลังจากดูหนังเกาหลีจากเวปมานานระยะนึง ตอนสองทุ่มกว่า ๆ วันนี้ เราได้นั่งเขียนอีแมวถึง คนที่แผนก เกี่ยวกะ new year resolutions เราก็ได้เปิดซีรีส์เกาหลีติ่งเกาหลีอย่างเราต้องตามดูอยู๋ เพื่อน ๆ หลายคนคงรู้ดี ภาคเกาหลีเราได้สัญญากะตัวเองไว้ว่าจะ ดู cable ทีวีมากขึ้น เพราะว่าตอนนี้เราเริ่มฟังภาษาเกาหลีออกแล้ว ในหนังเกาหลี นางเอกจะพูดเสมอ โอ๊ะโต๊แกะ ซึ่งแปลว่า เราจะทำยังงัยดี! และ พระเอก จะพูดว่า Go-Jo จะฉายแล้วนะคะ อย่าลืมดู
(After being away in a cyber world as a Social world ppantip.com Blogger for a while, I was writing my new year resolution to all my colleague requesting them to work more closely with me while watching Korean Series, I truly understand some Koreans and remind me to go back to English, I just realize some Korean short sentences from Korean drama like Ottoke! From the lead actress which in English meaning what should we do?) and lead actor always says Go-Jo which mean get lost.

เราสัญญากับทาง admin เพจไว้ว่าเราจะสุภาพ
( As promised with the admin page, I will be very polite in this forum).
ขอนะคะ จะตีกฏหมาย ict ไม่เอาในกระทู้นี้นะ เตือนทุกคนนะ เราแจ้งลบนะคะ

ขอเตือนเพื่อน ๆเกี่ยวกับ กฏหมายดิจิตัลนะคะ content จะโดนลบเอานะ
(First let me remind all of you for the ICT law which I just confessed. The forum is being reported, I hope that this will not be hidden, I try to write my content not to referring the name of the provider.)

Credit: https://ictlawcenter.etda.or.th/

เราจะทำยังงัยดี โอ๊ะโต๊แกะ! มาอ่านกฏหมายกันค่ะ ง่ายที่สุด ถ้าเรา credit ทุกอย่างหมดแล้วนะคะ ถ้า pantip จะลบ รบกวนด้วยนะคะ เราต้องการให้คนไทยลุกขึ้นมาปกป้องสิทธิของตนเองค่ะ คาดว่า admin คงโดนกันไปบ้างนะคะ เราโดนเอาเปรียบกันด้านไหนบ้าง ตะโกนกันออกมาเลยค่ะ ไปอ่านกฏหมายกันค่ะ ศัพท์เสดสาดที่เรียนมาเขาเรียกว่าอะไรนะ monopoly ใช่ไหมคะ อาจารย์?
เราต้องการความเป็นธรรมค่ะ หวังว่า forum นี่จะช่วยได้นะ แบบว่าเข้าไปเขียนคอมเม้าท์ แล้วก็ได้อะไรกลับมา ไม่ใช่สิ่งที่ลูกค้าของคุณต้องการนะคะ ไม่ได้อยากเป็นข่าวดังนะคะ
เกาหลีเค้าว่า อาราซอโย๊ะ= เข้าใจไหม!

กฎหมาย คุ้มครองผู้บริโภค            
        
                 ในมาตรา 3 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2541บัญญัติไว้ว่า ผู้บริโภคนั้นหมายถึง ผู้ซื้อสินค้า หรือ ผู้ที่ได้รับการจูงใจ หรือ การชักชวนจากผู้ประกอบกิจการด้านธุรกิจเพื่อให้ซื้อสินค้า ทั้งยังหมายถึง ผู้ซื้อสินค้า หรือ ผู้รับบริการจากผู้ประกอบการทางด้านธุรกิจโดยสุจริต แม้จะยังไม่ได้เสียค่าตอบแทนก็ตาม
                และในมาตรานี้ ยังให้คำนิยามของ ผู้ประกอบกิจการด้านธุรกิจ ว่า ผู้ขาย ผู้ผลิตเพื่อนำไปขายผู้สั่งหรือ นำเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อทำการค้าขาย หรือ ผู้ซื้อเพื่อนำสิ้นค้าขายต่อ หรือเป็นผู้ให้บริการ และทั้งยังรวมถึงผู้ประกอบกิจการด้านโฆษณา
ความหมายของ กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
                 กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค คือ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตของผู้คนในทุกๆสังคม โดยจะเกี่ยวข้องกการใช้บริการ และ การใช้สินค้า เช่น มนุษย์มีความต้องการอาหาร ยารักษาโรค  มนุษย์จำเป็นต้องใช้บริการรถโดยสาร รถประจำทาง เครื่องบิน เป็นต้น เพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกให้แก่ตนเอง เช่น การใช้โทรศัพท์มือถือติดต่อสื่อสาร การใช้เอทีเอ็ม ดังนั้น การใช้บริการต่างๆ หรือ การบริโภค จำเป็นต้องได้มีคุณภาพอย่างถูกต้อง และ ได้มาตรฐานตามที่ผู้ผลิตได้โฆษณาเอาไว้ จึงทำให้ รัฐบาลซึ่งอยู่ในฐานะเป็นผู้คุ้มครองดูแลประชาชนเมื่อไหร่ก็ตามที่พบว่า ประชาชนได้รับความเดือดร้อนหรือความเสียหายจากการใช้สินค้า และ บริการ จะต้องรีบเข้ามาคุ้มครอง และ แก้ไขปัญหาเหล่านั้นอย่างทันท่วงทีให้แก่ประชาชน

      นอกจากนี้ ยังมี ศ.ชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์ ยังให้ความหมายของกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคว่า คือกฎหมายหนึ่งที่มุ่งที่จะคุ้มครองแก่ประโยชน์ของผู้บริโภค กฎหมายใดก็ตามที่มีส่วนคุ้มครองประโยชน์ของผู้บริโภคในส่วนที่เกี่ยวกับผู้ประกอบกิจการธุรกิจซึ้งเป็นกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค ดังนั้นกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคจึงมีหลากหลายฉบับ ไม่เพียงแค่มีพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภคเพียงแค่ฉบับเดียวเท่านั้น[1] หากแต่กฎหมายในแต่ละฉบับจะมีอำนาจหน้าที่ในการมุ่งคุ้มครองผู้บริโภคที่แตกต่างกันออกไป โดยจะมีหน่วยงานราชการซึ่งทำหน้าที่บังคับใช้ให้เป็นไปตามกฎหมายอย่างเป็นธรรม ซึ่งหน่วยราชการดังที่กล่าวมาจะกระจายอยู่ตามกระทรวงต่าง ๆ
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1.  กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคซึ่งมีหน้าที่คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคโดยตรง
คือ  พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ซึ่งได้แก้ไขเพิ่มเติมมาจากพระราชบัญญัติคณะกรรมการคุ้มครองผู้ บริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541 ได้กำหนดเอาไว้ว่าให้ผู้บริโภคมีสิทธิได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย ตาม 5 ประการดังต่อไปนี้
     1.1  สิทธิจะได้รับข่าวสาร รวมทั้งคำติชมคุณภาพที่ถูกต้องในสินค้าหรือบริการ
     1.2  สิทธิในการได้อิสระในการเลือกบริโภคสินค้าและบริการ
     1.3  สิทธิในการได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคสินค้าหรือบริการ
     1.4  สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมจากสัญญาหรือการทำสัญญา
     1.5  สิทธิที่จากการที่จะได้รับการพิจารณาและเยียวยาความเสียหาย
2.  กฎหมายการคุ้มครองผู้บริโภคมีหลักเกณฑ์และหน้าที่  
       จาก มาตรา 3 ว่าด้วยเรื่องบทนิยามของผู้บริโภค บัญญัติว่า กฎหมายนั้นไม่ได้คุ้มครองเพียงแค่ผู้ซื้อเท่านั้น แต่ยังรวมถึง ผู้รับบริการโดยเสียค่าตอบแทนอื่นๆ เช่น สัญญาจ้างทำของ หรือ สัญญาเช่าซื้อด้วย ไปนอกจากนี้ ปี 2541 ได้มีการแก้ไขนิยามของ ผู้บริโภคขึ้นใหม่ว่า คือ ผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจ หรือผู้ซื้อ หรือเป็นบุคคลที่ถูกชักชวนจากผู้ประกอบกิจการด้านธุรกิจเพื่อให้บริโภคสินค้า หรือ บริการ อีกทั้งยังรวมถึงผู้ใช้สินค้า จากผู้ประกอบธุรกิจโดยชอบแม้จะมิได้เป็นผู้เสียค่าตอบแทนก็ตามที                
       ส่วน หน้าที่ สามารถทำได้โดยการเข้าไปตรวจสอบหรือควบคุมกำกับดูแลผู้ประกอบกิจการด้านธุรกิจที่ผลิตทำการสินค้าและบริการ เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับความเป็นธรรม และความปลอดภัยต่อการเลือกใช้สินค้าและต่อการรับบริการ ซึ่งสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้
    2.1 กฎหมายคุ้มครองเพื่อที่จะให้ผู้บริโภคมีความปลอดภัยในการบริโภคสินค้าและรับบริการ
    2.2 กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อที่จะให้ผู้บริโภคได้รับความเป็นธรรมในการบริโภคสินค้าและรับบริการ
   - หน่วยงานที่คุ้มครองผู้บริโภคมีหลายแบบและกระจายออกไปตามประเภทของการบริโภคสินค้าและบริการเช่น
    1. ในกรณีที่ประชาชนได้รับความเสียหายจาก อาหาร ยา หรือเครื่องสำอาง เป็นหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา สังกัดของกระทรวงสาธารณาสุข ที่จะต้องเข้ามาดูแลประชาชนผู้ได้รับความเสียหาย
     2. ในกรณีที่ประชาชนมีความเดือดร้อนเกี่ยวกับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ จะเป็นหน้าที่ของสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ในสังกัดของกระทรวงอุตสาหกรรม เข้ามาดูแล
     3. ในกรณีที่ประชาชนได้รับความเดือดร้อนเกี่ยวกับเจ้าของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เช่น จัดสรรที่ดิน   อาคารชุด เป็น  หน้าที่ของกรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย ที่จะเข้ามาให้ความดูแล
     4. ในกรณีที่ประชาชนมีความเดือดร้อนเกี่ยวกับด้านคุณภาพ หรือ ราคาสินค้าอุปโภคบริโภคที่ไม่เป็นธรรมเป็นหน้าที่ของกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ เข้ามาดูแลกำกับ
     5. ในกรณีที่ประชาชนได้มีความเดือดร้อนเกี่ยวกับ ประกันชีวิต หรือ ด้านประกันภัย เป็นหน้าที่ของกรมการประกันภัย กระทรวงพาณิชย์ ที่ดูแลประชาชน
     นอกจากนี้ ผู้บริโภคจะต้องปฏิบัติหน้าที่โดยไม่ขัดต่อกฎหมาย ซึ่งหน้าที่ของผู้บริโภคที่ควรปฏิบัติ   คือ
    1) ผู้บริโภคต้องใช้ความระมัดระวังในการซื้อสินค้าหรือเข้ารับบริการ เช่น ตรวจสอบฉลาก
     2) การเข้าทำสัญญาตามกฎหมาย โดยการลงลายมือชื่อ ต้องตรวจสอบความถูกต้องและชัดเจนในสัญญาอย่างละเอียด  
     3) ผู้บริโภคมีหน้าที่เก็บหลักฐานเอาไว้ เพื่อประโยชน์ในการที่จะสามารถกลับมาเรียกร้องค่าเสียหาย กรณีที่เกิดความเสียหายขึ้นแก่ตน
     4) เมื่อผู้บริโภคถูกละเมิดสิทธิของตน ผู้บริโภคควรทำการเรียกร้องต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือต่อคณะกรรมการที่ทำหน้าที่คุ้มครองผู้บริโภคโดยตรง[2]
วิธีการคุ้มครองผู้บริโภค        
             ตามหลักทั่วไป ในมาตรา 21 บัญญัติว่า ในกรณีที่ว่าด้วยการใดกฎหมายบัญญัติเรื่องใดไว้โดยเฉพาะแล้วให้บังคับตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการนั้น และให้นำบทบัญญัติในหมวดนี้ไปใช้บังคับได้เท่าที่ไม่ซ้ำหรือขัดกับบทบัญญัติดังกล่าว เว้นแต่
   1.ในกรณีมีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ของผู้บริโภคโดยการส่วนรวม หากว่าเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจตามกฎหมายดังกล่าว มิได้มีการดำเนินการหรือดำเนินการยังไม่ครบขั้นตอนตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น และยังมิได้ออกคำสั่งเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคตามกฎหมายดังกล่าวภายใน 90 วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งจากกรรมการเฉพาะเรื่องหรือคณะกรรมการเสนอเรื่องให้นายกรัฐมนตรีพิจารณาออกคำสั่งตามควา
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่