จากข้อมูลนี้
สินค้าประเภทไหนที่นำมาใช้ลดหย่อนภาษีได้ ?
สำหรับสินค้าที่สามารถใช้ลดหย่อนภาษีได้นั้น ต้องเป็นสินค้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม เช่น
- เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ สินค้าเสริมความงาม
- อาหารและเครื่องดื่มในร้านอาหารและโรงแรม (ไม่รวมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์) โดยร้านอาหารนั้นต้องจดทะเบียน VAT
- ยารักษาโรค อาหารเสริม
- อุปกรณ์ไอที คอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน
- เครื่องใช้ไฟฟ้า
- บริการต่าง ๆ อาทิ นวดหน้า สปา
- ทองรูปพรรณ (ลดหย่อนได้เฉพาะค่ากำเหน็จ)
- ซื้อบัตรเพื่อแลกรับบริการ และนำบัตรไปใช้บริการในช่วงวันที่ 14-31 ธันวาคม 2559
- ค่าซ่อมรถ โดยต้องรับบริการและแล้วเสร็จในช่วงวันที่ 14-31 ธันวาคม 2559
- ฯลฯ
ซึ่งทั้งหมดต้องซื้อหรือใช้บริการจากร้านที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มและสามารถออกใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปให้ได้เท่านั้น
สินค้าประเภทไหนที่ไม่สามารถลดหย่อนภาษีได้ ?
สินค้าที่นำมาลดหย่อนภาษีไม่ได้จะเป็นสินค้าที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม รวมทั้งสินค้าอื่น ๆ ที่มีข้อยกเว้น เช่น
- เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สุรา เบียร์ ไวน์
- ยาสูบ บุหรี่
- น้ำมันและก๊าซสำหรับเติมยานพาหนะรถยนต์ รถจักรยานยนต์ และเรือ
- ค่าตั๋วเครื่องบินเดินทางในประเทศ-ต่างประเทศ
- ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ (เพราะเป็นการใช้ในเดือนพฤศจิกายน)
- ค่ารักษาพยาบาล
- ค่าทำศัลยกรรม
- ทองคำแท่ง
- ผัก ผลไม้สดที่ยังไม่ได้แปรรูป
- เนื้อหมู ไก่ ปลา
- หนังสือ นิตยสาร ตำราเรียน
- สินค้า Duty free (ยกเว้นซื้อสินค้าที่เสีย VAT ในร้าน Duty Free สามารถนำมาใช้ได้)
- ประกันชีวิต ประกันรถยนต์ ประกันอุบัติเหตุ
- บัตรของขวัญ (Gift Voucher)
- ทัวร์ไปต่างประเทศ
- สินค้าที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ตรวจสอบเพิ่มเติมได้ที่ กิจการที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมาย
คำถามคือ ค่ายารักษาโรค ลดหย่อนได้ แต่ค่ารักษาพยาบาลลดหย่อนไม่ได้ แล้วแบบนี้ ถ้าผมไปรักษาโรคภูมิแพ้ที่โรงพยาบาล และในใบเสร็จระบุ
ค่ายา 10,000 บาท
ค่าตรวจผู้ป่วยนอก 500 บาท
ค่าเครื่องมือแพทย์ 200 บาท
ค่าอื่นๆ 100 บาท
แบบนี้ผมสามารถเอาใบเสร็จจากโรงพยาบาลไปลดหย่อนได้ 10,000 บาท เฉพาะค่ายาใช่ไหมครับ ผมเข้าใจถูกต้องไหมครับ
สอบถามเรื่องช้อปช่วยชาติ 15000 บาท เพื่อใช้ลดหย่อนภาษีปี 59 ครับ
สินค้าประเภทไหนที่นำมาใช้ลดหย่อนภาษีได้ ?
สำหรับสินค้าที่สามารถใช้ลดหย่อนภาษีได้นั้น ต้องเป็นสินค้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม เช่น
- เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ สินค้าเสริมความงาม
- อาหารและเครื่องดื่มในร้านอาหารและโรงแรม (ไม่รวมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์) โดยร้านอาหารนั้นต้องจดทะเบียน VAT
- ยารักษาโรค อาหารเสริม
- อุปกรณ์ไอที คอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน
- เครื่องใช้ไฟฟ้า
- บริการต่าง ๆ อาทิ นวดหน้า สปา
- ทองรูปพรรณ (ลดหย่อนได้เฉพาะค่ากำเหน็จ)
- ซื้อบัตรเพื่อแลกรับบริการ และนำบัตรไปใช้บริการในช่วงวันที่ 14-31 ธันวาคม 2559
- ค่าซ่อมรถ โดยต้องรับบริการและแล้วเสร็จในช่วงวันที่ 14-31 ธันวาคม 2559
- ฯลฯ
ซึ่งทั้งหมดต้องซื้อหรือใช้บริการจากร้านที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มและสามารถออกใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปให้ได้เท่านั้น
สินค้าประเภทไหนที่ไม่สามารถลดหย่อนภาษีได้ ?
สินค้าที่นำมาลดหย่อนภาษีไม่ได้จะเป็นสินค้าที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม รวมทั้งสินค้าอื่น ๆ ที่มีข้อยกเว้น เช่น
- เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สุรา เบียร์ ไวน์
- ยาสูบ บุหรี่
- น้ำมันและก๊าซสำหรับเติมยานพาหนะรถยนต์ รถจักรยานยนต์ และเรือ
- ค่าตั๋วเครื่องบินเดินทางในประเทศ-ต่างประเทศ
- ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ (เพราะเป็นการใช้ในเดือนพฤศจิกายน)
- ค่ารักษาพยาบาล
- ค่าทำศัลยกรรม
- ทองคำแท่ง
- ผัก ผลไม้สดที่ยังไม่ได้แปรรูป
- เนื้อหมู ไก่ ปลา
- หนังสือ นิตยสาร ตำราเรียน
- สินค้า Duty free (ยกเว้นซื้อสินค้าที่เสีย VAT ในร้าน Duty Free สามารถนำมาใช้ได้)
- ประกันชีวิต ประกันรถยนต์ ประกันอุบัติเหตุ
- บัตรของขวัญ (Gift Voucher)
- ทัวร์ไปต่างประเทศ
- สินค้าที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ตรวจสอบเพิ่มเติมได้ที่ กิจการที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมาย
คำถามคือ ค่ายารักษาโรค ลดหย่อนได้ แต่ค่ารักษาพยาบาลลดหย่อนไม่ได้ แล้วแบบนี้ ถ้าผมไปรักษาโรคภูมิแพ้ที่โรงพยาบาล และในใบเสร็จระบุ
ค่ายา 10,000 บาท
ค่าตรวจผู้ป่วยนอก 500 บาท
ค่าเครื่องมือแพทย์ 200 บาท
ค่าอื่นๆ 100 บาท
แบบนี้ผมสามารถเอาใบเสร็จจากโรงพยาบาลไปลดหย่อนได้ 10,000 บาท เฉพาะค่ายาใช่ไหมครับ ผมเข้าใจถูกต้องไหมครับ