ร่าง พรบ ว่าด้วยการรักษาความมั่งคงทางไซเบอร์ พศ ... โหลดไปอ่านไปศึกษาก่อนโวยวายเหมือน พรบ กำลังพลสำรอง (ฺBy Identity)

https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws/download_file/1_Cabinet_Draft-de_laws_cyber-security-protection-act.pdf

   มาตรา ๑๗ ให้ส านักงานมีอ านาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) ตอบสนองและรับมือกับภัยคุกคามไซเบอร์ เมื่อมีเหตุการณ์ด้านความมั่นคงปลอดภัย
หรือสถานการณ์ด้านความมั่นคงปลอดภัยที่ไม่พึงประสงค์หรือไม่อาจคาดคิด ที่ส่งผลกระทบ หรืออาจ
ก่อให้เกิดผลกระทบ ความสูญเสีย หรือความเสียหายอย่างมีนัยส าคัญหรืออย่างร้ายแรง โดยวางมาตรการ
เกี่ยวกับการด าเนินการที่ค านึงถึงชั้นความลับและการเข้าถึงข้อมูลที่มีชั้นความลับ


(๒) ประสานความร่วมมือทางปฏิบัติในการด าเนินการกับหน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงาน
ภาคเอกชน เพื่อให้การยับยั้งปัญหา ภัยคุกคามไซเบอร์ ได้รับการแก้ไขอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว


(๓) ประสานงานกับหน่วยงานของรัฐและเอกชน เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับภัยคุกคาม
การปูองกัน การรับมือ ความเสี่ยงจากสถานการณ์ด้านภัยคุกคามทางไซเบอร์และข้อมูลอื่นใดอันเกี่ยวกับ
การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ เพื่อวิเคราะห์เสนอต่อ กปช.


(๔) บริหารแผนงานรวม ประสานการบริหารและการปฏิบัติการตามแผนปฏิบัติการหรือตาม
ค าสั่งการของ กปช.

(๕) ติดตามและเร่งรัดการปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความ
มั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ และรายงานต่อ กปช.

(๖) เป็นศูนย์กลางเครือข่ายข้อมูลด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ของประเทศ ทั้งภายใน
และภายนอกประเทศ

(๗) ติดตาม เฝูาระวัง รวมทั้งสร้างความตระหนักเกี่ยวกับภัยคุกคามทางระบบสารสนเทศ
รวมทั้งจัดตั้งและบริหารจัดการศูนย์ประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
(National CERT)

(๘) ศึกษาและวิจัยข้อมูลที่จ าเป็นส าหรับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ เพื่อจัดท า
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับมาตรการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์

(๙) ส่งเสริม สนับสนุน และด าเนินการเผยแพร่ความรู้ และการให้บริการเกี่ยวกับการรักษา
ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ตลอดจนด าเนินการฝึกอบรมเพื่อยกระดับทักษะเกี่ยวกับมาตรฐานความมั่นคง
ปลอดภัย หรือกรณีอื่นใดเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์

(๑๐) รายงานความคืบหน้าและสถานการณ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ รวมทั้งปัญหา
และอุปสรรคต่อ กปช.

(๑๑) รับผิดชอบงานธุรการ งานวิชาการ งานการประชุม และงานเลขานุการของ กปช.

(๑๒) จัดท ารายงานสรุปผลการด าเนินงานรายงานประจ าปีให้กปช.ทราบ เว้นแต่เป็นกรณี
ฉุกเฉินให้รายงานให้กปช.ทราบโดยเร็ว

(๑๓) ปฏิบัติงานอื่นใดอันเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ของประเทศตามที่
กปช. หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

เมื่อคณะรัฐมนตรีอนุมัติแผนปฏิบัติการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติตาม (๑)
ให้ส านักงานร่วมกับหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องปฏิบัติการให้เป็นไปตามแผนดังกล่าว


           แล้วก็มีหมวด 4 หมวด ๔
การปฏิบัติการและการรับมือภัยคุกคามทางไซเบอร์

################################################################

         โหลดไปอ่านกันครับ ที่ผ่านๆมาก็มีพวก anonymous ปลอมที่เป็นกลุ่มก้อนทางการเมืองยิงเว็บต่างๆของรัฐบาล ถามแบบบนี้คือการคุกคามทางไซเบอร์ต่อภาครัฐไหม  เกิดมี hacker ไป hack ระบบธนาคารของตู้ธนาคารออมสินเหมือนที่เคยมีข่าว จากกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก แบบนี้เป็นภัยคุกคามทางไซเบอร์ไหม

         ไม่มีภาครัฐหน่วยงานใดว่างมากพอที่จะไปนั่งจับความเห้นของคนเห็นต่างทุกคนหรอกครับ ตืนตูม เขามีวิธีการและความหมายชัดเจนว่าทำกรณีใด แตกตื่นเหมือนกรณีก่อนหน้าที่บอกว่า ทำ single gateway แล้วคนจะไป hack ข้อมูลจาก single gateway ได้นี่คือพวกตืนตูมไม่รู้ระบบว่ามันทำงานอย่างไร ฟังต่อๆกันมา บางคนบอกว่าเขาจะเก้บรหัสไว้ใน log ที่เคยสนทนากับผม อันนี้ก็เอาฮา ใครเขาเก็บรหัสข้อมูลต่างๆไว้ใน log เขาเก็บแต่เวลาใช้ เครื่องที่ใช้ กับข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูล username password

          อยากให้อ่านกันครับแล้วมีข้อดีเสียอย่างไร ค่อยถก บางคนเห็นบอกว่าเป็นเพราะข่าวธรรมกายมากลบ พวกนี้ก็เอาฮา ไปหมดละครับความคิดตรรกะ ไม่รู้รับทานอะไรกัน ข้าวต้มโจ๊กตอนเช้าหรือ น้ำเต้าหู้ผสมเห็ดเมา ถึงได้โยงไปมาได้แบบคนที่มีตรรกะความคิดแบบนี้  เห็นไปถึงไหนอายถึงนั้น สร้างความมโนกันในกลุ่มก้อนทั้งที่มันคนละเรื่องเลย  เอกสารเขาก็มีให้ดาวโหลด อีกอย่าง ธรรมกายเขาเป็นเรื่องทางศาสนา อันนี้เอามาโยง ใครคิดให้ครับ


เพิ่มเติม เอกสาร
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ฉบับที่… พ.ศ
จาก ETDA
https://ictlawcenter.etda.or.th/de_laws/detail/de-laws-computer-related-crime-act
แก้ไขข้อความเมื่อ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่