ความรู้และศาสตร์ในโลกเกิดจากอะไร มนุษย์เป็นคนสร้างขึ้นมาเอง สร้างทฤษฏี แนวคิด สร้างสมมุติ ขึ้นมาเพื่อใช้ประโยชน์ในการดำเนินชีวิต
ในแต่ล่ะศาสตร์สำคัญๆในโลก ล้วนสำคัญกับชีวิตของมุษย์ทั้งนั้น แต่ในความคิดเห็นส่วนตัวผม พวกวิชาจักรวาลวิทยา ปรัชญา จริงๆแล้วแต่ละวิชาในโลกดูแตกต่างกัน แต่ทุกๆ ศาสตร์เชื่อมต่อกัน คณิตศาสตร์เชื่อมกับฟิสิกส์ ชีววิทยาเชื่อมกับเคมี เคมีเชื่อมกับกายวิภาคศาสตร์ ประวัติศาสตร์เชื่อมกับภูมิศาสตร์ ฯลฯ การรู้เพียงจุดเดียวทำให้โลกทรรศน์ของเราไม่กว้างพอ การเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์จำเป็นต้องได้มีความรู้รอบด้าน ยกตัวอย่างเช่น หากเรารู้เรื่องโครงสร้างอาคารและวัสดุก่อสร้าง เราก็สร้างตึกได้ แต่มันไม่ได้แปลว่าเราเป็นสถาปนิก การเป็น ‘สถาปนิก’ ต้องมีองค์ความรู้และภูมิปัญญากว้างกว่านั้นมาก ต้องรู้ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ชีววิทยา ปรัชญา สังคม วัฒนธรรมจิตวิทยา ดาราศาสตร์ ฯลฯ ต้องเข้าใจจิตวิญญาณความเป็นมนุษย์ ต้องรู้ว่างานชิ้นหนึ่งสร้างผลกระทบต่อเพื่อนมนุษย์ สังคม และโลกอย่างไร
เช่นกัน การเป็นพระต้องรู้มากกว่าแค่บทสวด พระธรรม ศีลธรรม ‘พระ’ ต้องรู้ประวัติศาสตร์ ปรัชญา สังคม วัฒนธรรมจิตวิทยา ดาราศาสตร์ จักรวาลวิทยา ฯลฯ พระจะบรรลุธรรมได้อย่างไรหากไม่รู้ว่าคนมาจากไหน
หลายเรื่องหลายสิ่งในโลกมองเผินๆ ไร้ประโยชน์ เช่น ขี้ ซากศพ ขยะ ฯลฯ แต่มองให้ลึกจะเห็นว่า ขี้เป็นที่อยู่และอาหารของสัตว์หลายชนิด ซากศพเป็นอาหารของแร้ง ขยะสามารถนำไปรีไซเคิล บางครั้งนำไปสร้างเป็นงานศิลปะ การศึกษาค้นคว้าก็เช่นกัน
ความรู้เป็นตัวขยายสมอง เปิดโลกทรรศน์ เปิดประตูสู่ดินแดนใหม่ๆ เราต้องไม่กลัวก้าวไปสู่พื้นที่ใหม่ พื้นที่ที่ไม่มีใครเคยไปมาก่อน ปริมาณและคุณภาพของความรู้และปัญญาจะกำหนดว่าเราเป็นมนุษย์แบบไหน วิชาการต่างๆ จึงจำเป็นต่อเรา และแม้ว่าความรู้ที่มีอยู่ในโลกตอนนี้เรียนทั้งชีวิตก็ไม่หมด แต่มันก็ยังน้อยเกินไป! ยังมีความรู้ใหม่ๆ ที่ยังไม่เกิดขึ้นรอเราอยู่ และความรู้เหล่านั้นอาจเปลี่ยนมนุษยชาติและสรรพชีวิตในโลกในทางที่ดีขึ้น ไม่ได้สำคัญอะไร
รู้ก็ได้ไม่รุ้ก็ได้ รู้แล้วได้อะไร ศาสตร์ความรู้ทั้งหมดในโลก มนุษย์ล้วนสร้างขึ้นมาทั้งหมด ถ้าจะทำลายมนุษย์คงทำลาย พูดง่ายๆ ความรู้คือสิ่งที่ไม่มีสิ้นสุด
มนุษย์สรรสร้างขึ้นมาตลอด
ศาสตร์และความรู้เกิดจากอะไร
ในแต่ล่ะศาสตร์สำคัญๆในโลก ล้วนสำคัญกับชีวิตของมุษย์ทั้งนั้น แต่ในความคิดเห็นส่วนตัวผม พวกวิชาจักรวาลวิทยา ปรัชญา จริงๆแล้วแต่ละวิชาในโลกดูแตกต่างกัน แต่ทุกๆ ศาสตร์เชื่อมต่อกัน คณิตศาสตร์เชื่อมกับฟิสิกส์ ชีววิทยาเชื่อมกับเคมี เคมีเชื่อมกับกายวิภาคศาสตร์ ประวัติศาสตร์เชื่อมกับภูมิศาสตร์ ฯลฯ การรู้เพียงจุดเดียวทำให้โลกทรรศน์ของเราไม่กว้างพอ การเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์จำเป็นต้องได้มีความรู้รอบด้าน ยกตัวอย่างเช่น หากเรารู้เรื่องโครงสร้างอาคารและวัสดุก่อสร้าง เราก็สร้างตึกได้ แต่มันไม่ได้แปลว่าเราเป็นสถาปนิก การเป็น ‘สถาปนิก’ ต้องมีองค์ความรู้และภูมิปัญญากว้างกว่านั้นมาก ต้องรู้ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ชีววิทยา ปรัชญา สังคม วัฒนธรรมจิตวิทยา ดาราศาสตร์ ฯลฯ ต้องเข้าใจจิตวิญญาณความเป็นมนุษย์ ต้องรู้ว่างานชิ้นหนึ่งสร้างผลกระทบต่อเพื่อนมนุษย์ สังคม และโลกอย่างไร
เช่นกัน การเป็นพระต้องรู้มากกว่าแค่บทสวด พระธรรม ศีลธรรม ‘พระ’ ต้องรู้ประวัติศาสตร์ ปรัชญา สังคม วัฒนธรรมจิตวิทยา ดาราศาสตร์ จักรวาลวิทยา ฯลฯ พระจะบรรลุธรรมได้อย่างไรหากไม่รู้ว่าคนมาจากไหน
หลายเรื่องหลายสิ่งในโลกมองเผินๆ ไร้ประโยชน์ เช่น ขี้ ซากศพ ขยะ ฯลฯ แต่มองให้ลึกจะเห็นว่า ขี้เป็นที่อยู่และอาหารของสัตว์หลายชนิด ซากศพเป็นอาหารของแร้ง ขยะสามารถนำไปรีไซเคิล บางครั้งนำไปสร้างเป็นงานศิลปะ การศึกษาค้นคว้าก็เช่นกัน
ความรู้เป็นตัวขยายสมอง เปิดโลกทรรศน์ เปิดประตูสู่ดินแดนใหม่ๆ เราต้องไม่กลัวก้าวไปสู่พื้นที่ใหม่ พื้นที่ที่ไม่มีใครเคยไปมาก่อน ปริมาณและคุณภาพของความรู้และปัญญาจะกำหนดว่าเราเป็นมนุษย์แบบไหน วิชาการต่างๆ จึงจำเป็นต่อเรา และแม้ว่าความรู้ที่มีอยู่ในโลกตอนนี้เรียนทั้งชีวิตก็ไม่หมด แต่มันก็ยังน้อยเกินไป! ยังมีความรู้ใหม่ๆ ที่ยังไม่เกิดขึ้นรอเราอยู่ และความรู้เหล่านั้นอาจเปลี่ยนมนุษยชาติและสรรพชีวิตในโลกในทางที่ดีขึ้น ไม่ได้สำคัญอะไร
รู้ก็ได้ไม่รุ้ก็ได้ รู้แล้วได้อะไร ศาสตร์ความรู้ทั้งหมดในโลก มนุษย์ล้วนสร้างขึ้นมาทั้งหมด ถ้าจะทำลายมนุษย์คงทำลาย พูดง่ายๆ ความรู้คือสิ่งที่ไม่มีสิ้นสุด
มนุษย์สรรสร้างขึ้นมาตลอด