✦✦ "เพจ กปปส." กับรูปภาพบิดเบือน ? #76 ✦✦___ (Demokratia ในสมัย เพลโต้ ตั้งคำพูดนี้ไว้ ในสมัยกรีกโบราณ) ??

กระทู้คำถาม


จากคลิป "เบื้องลึก !! ราชาธิปไตย-ประชาธิปไตย-คอมมิวนิสต์ " ได้โพสต์ลงในเพจเมื่อวันที่ 7 พ.ย. 2016 ดังนี้

https://www.youtube.com/watch?v=2G6CZCADQgk

นาทีที่ 0.10

"เอ่อ...จริงๆ ระบอบประชาธิปไตย จริงๆ มันมีรากเหง้ามาจาก Demokratia ในสมัย เพลโต้ ตั้งคำพูดนี้ไว้ ในสมัยกรีกโบราณ"

ซึ่งมีผู้ติดตามประมาณ 212,265 คน



✦     ✦      แต่ทว่าความจริงแล้ว      ✦     ✦




คำว่า Demokratia เป็นคำที่ใช้ในยุคกรีกโบราณ เมื่อสมัย ประมาณ 500 ปี ก่อนคริสต์ศักราช

Demokratia (Greek: δημοκρατία) is a direct democracy, as opposed to the modern representative democracy.
It was used in ancient Greece, most notably Athens, and began its use around 500 BCE.
https://en.wikipedia.org/wiki/Demokratia

และ plato
ถือกำเนิดขึ้นเมื่อ ประมาณ 428/427 or 424/423 ก่อนคริสต์ศักราช
Born     428/427 or 424/423 BC

https://en.wikipedia.org/wiki/Plato

เพลโต (ในภาษากรีก: Πλάτων Plátōn, อังกฤษ: Plato) (427 - 347 ปีก่อน ค.ศ.) เป็นนักปรัชญาชาวกรีกโบราณที่มีอิทธิพลอย่างสูงต่อแนวคิดตะวันตก เขาเป็นลูกศิษย์ของโสกราตีส เป็นอาจารย์ของอริสโตเติล เป็นนักเขียน และเป็นผู้ก่อตั้งอาคาเดมีซึ่งเป็นสำนักวิชาในกรุงเอเธนส์

https://th.wikipedia.org/wiki/เพลโต

ทั้ง Plato และ Aristotle มีแนวคิดที่นิยมราชาปราชญ์ อภิชนาธิปไตยมากกว่า ประชาธิปไตย



https://th.wikipedia.org/wiki/ประชาธิปไตย
เพลโตและอริสโตเติล

สำหรับทั้งเพลโตและอริสโตเติลแล้ว นักปราชญ์ทั้งสองนี้ไม่เห็นด้วยกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย เพลโตได้แสดงความเห็นถึงผู้นำของรัฐในอุดมคติในหนังสืออุตมรัฐ ว่า "ผู้นำของรัฐ ควรจะเป็นผู้นำกลุ่มน้อยที่ทรงภูมิความรู้และเปี่ยมด้วยคุณธรรม อุทิศตนเองให้กับรัฐ เมื่อรัฐมีผู้นำที่มีคุณภาพเช่นนี้ รัฐนั้นก็เจริญก้าวหน้า มีระบบการบริหารที่ดี ประชาชนจะมีชีวิตที่เป็นสุข"[54] โดยเขาเห็นว่านักปราชญ์และนักปกครองเป็นผู้นำที่ดี โดยถือว่าการปกครองแบบอภิชนาธิปไตยเป็นรูปแบบการปกครองที่ดีที่สุด เนื่องจากเพลโตขมขื่นจากการตัดสินของกลุ่มคนที่ให้ประหารโสกราตีส[55]

และจากเพจ "วิวาทะ V2"
https://www.facebook.com/quoteV2/photos/a.512068612228383.1073741830.511585615610016/967812979987275/?type=3&permPage=1
แก้ไขข้อความเมื่อ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่