คณะนักวิจัยเกี่ยวกับการนอนหลับในมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย รีเวอร์ไซด์ ซึ่งนำทีมโดยศาตราจารย์ทางด้านจิตวิทยา Sara C.Mednick พบว่าระบบประสาทอัตโนมัติมีส่วนสำคัญในการควบคุมการทำงานของร่างกายโดยที่เราไม่รู้ตัว (อย่างเช่นการหายใจ การเต้นของหัวใจและการย่อยอาหาร) โดยทำให้เพิ่มระดับความจำมากยิ่งขึ้นจากความจำสั้นไปสู่ความจำยาวในช่วงที่นอนหลับอยู่
จากการศึกษาเรื่อง “การทำงานอัตโนมัติในช่วงที่นอนหลับอยู่กับการคาดการณ์ระบบความจำในตัวมนุษย์” ก็ได้มีการตีพิมพ์ลงใน National Academy Of Sciences ของประเทศอเมริกา โดย Mednick กับคณะของเธอก็ได้ทำการตรวจสอบเรื่องนี้ตอนแรกโดยพบว่า ระบบประสาทอัตโนมัติที่ทำงานในช่วงนอนหลับนั้นมีส่วนเกี่ยวข้องที่ทำให้ระบบความจำทำงานดีขึ้น
“การนอนหลับแสดงให้เห็นถึงการปรับเปลี่ยนประสบการณ์ในระยะยาว ทำให้ความจำมีเสถียรภาพ” Mednick ได้อธิบาย “แต่จากการศึกษาในอดีตนั้นยังมีหลักฐานที่ขัดแย้งเกี่ยวกับการนอนหลับที่ทำให้ระบบความจำทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น” ซึ่งก็สอดคล้องกับ Mednick ที่ชี้ว่า บางทีเหตุการณ์ที่ไม่สามารถระบุได้ในช่วงที่นอนหลับอยู่นั้น มีความสำคัญต่อกระบวนการเป็นอย่างมาก เนื่องจากระบบความจำในช่วงที่ตื่นนอนจะช่วยให้ระบบประสาทอัตโนมัติทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น Mednick ได้ทำการทดสอบระบบประสาทอัตโนมัติที่มีความเป็นไปได้ว่า ไม่มีความเชื่อมโยงกันในช่วงที่นอนหลับอยู่
จากการทดสอบนี้ Mednick กับคณะทีมวิจัยก็ได้เพิ่มแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ที่เรียกว่า Remote Associates Test (RAT) ระหว่างที่ทำการทดสอบ RAT นั้น คณะทีมวิจัยก็ให้ผู้ทดสอบทำการงีบหลับและทำการประเมินผลของการนอนหลับกับการทำงานของหัวใจ
จากการศึกษาส่วนแรกนั้น ตัวแทนทั้ง 81 คนได้แสดงให้เห็นถึงปัญหาการทดสอบ RAT จากการใช้คำที่ไม่มีความเกี่ยวข้องทั้ง 3 คำ (เช่น คุกกี้ สิบหก หัวใจ) และยังพบว่ายังมีคำอื่นๆอีก (เช่น หวาน) ซึ่งมีความเชื่อมโยงกันทั้ง 3 คำ ตัวแทนบางคนก็ได้สอบถามถึงคำที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน คำตอบนั้นก็จะต้องมาแก้ปัญหาในแบบทดสอบ RAT ครั้งที่สองหลังจากที่มีการงีบหลับแล้ว หลังจากที่ทำแบบทดสอบแล้ว ตัวแทนทั้ง 60 คนต่างก็ใช้เวลางีบหลับเป็นเวลา 90 นาที ในขณะที่ทำการดูวีดีโอนั้น วันต่อมาตัวแทนทุกคนได้กับมาที่ห้องทดลองและทำการแก้ปัญหาในแบบทดสอบ RAT ครั้งที่สอง ปัญหาก็คือ มีการระบุคำที่มาจากแบบทดสอบก่อนหน้านี้ (การทำซ้ำ) มีคำแปลกใหม่ (ความไม่คุ้นเคย) หรือมีการใช้คำตอบแบบเดียวกัน (ปัจจัยพื้นฐาน)
แต่ละคนที่งีบหลับนั้นดูเหมือนจะแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ในตอนบ่ายได้ดีกว่า เมื่อเทียบกับคนที่ให้คำตอบโดยที่ไม่ได้งีบหลับ พูดง่ายๆก็คือ การงีบหลับจะช่วยในเรื่องของความยืดหยุ่นทางความคิดและเมื่อเทียบกับคำที่ดูสดใหม่และมีค่าด้วยแล้ว สิ่งสำคัญก็คือ เกือบ 40 เปอร์เซ็นต์ผู้คนแก้ปัญหาได้ดียิ่งขึ้นจากการทดสอบ REM เมื่อนักวิจัยได้ทำการตรวจสอบอัตราการเต้นของหัวใจระหว่างที่ทำ REM แล้ว ก็พบว่า 73 เปอร์เซ็นต์ช่วยผู้คนแก้ปัญหาได้ดียิ่งขึ้น
“การค้นพบนี้ชี้ให้เห็นว่า ระบบประสาทอัตโนมัติที่ทำงานระหว่างนอนหลับอยู่อาจจะยังไม่มีหลักฐานสนับสนุนได้ว่า การนอนหลับจะช่วยเพิ่มความจำมากขึ้น” Mednick กล่าว ผลลัพธ์ที่ออกมานี้ก็เป็นที่เข้าใจได้ถึงความเชื่อมโยงทางร่างกายกับจิตใจและความสัมพันธ์ระหว่างการนอนหลับ ภาวะหัวใจและหลอดเลือดและกระบวนการหยั่งรู้
ผู้แปล : Mr.lawrence10
ที่มา : sciencedaily.com
การนอนหลับกับการเพิ่มความจำมีความเป็นไปได้ว่าไม่มีความเชื่อมโยงกัน
คณะนักวิจัยเกี่ยวกับการนอนหลับในมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย รีเวอร์ไซด์ ซึ่งนำทีมโดยศาตราจารย์ทางด้านจิตวิทยา Sara C.Mednick พบว่าระบบประสาทอัตโนมัติมีส่วนสำคัญในการควบคุมการทำงานของร่างกายโดยที่เราไม่รู้ตัว (อย่างเช่นการหายใจ การเต้นของหัวใจและการย่อยอาหาร) โดยทำให้เพิ่มระดับความจำมากยิ่งขึ้นจากความจำสั้นไปสู่ความจำยาวในช่วงที่นอนหลับอยู่
จากการศึกษาเรื่อง “การทำงานอัตโนมัติในช่วงที่นอนหลับอยู่กับการคาดการณ์ระบบความจำในตัวมนุษย์” ก็ได้มีการตีพิมพ์ลงใน National Academy Of Sciences ของประเทศอเมริกา โดย Mednick กับคณะของเธอก็ได้ทำการตรวจสอบเรื่องนี้ตอนแรกโดยพบว่า ระบบประสาทอัตโนมัติที่ทำงานในช่วงนอนหลับนั้นมีส่วนเกี่ยวข้องที่ทำให้ระบบความจำทำงานดีขึ้น
“การนอนหลับแสดงให้เห็นถึงการปรับเปลี่ยนประสบการณ์ในระยะยาว ทำให้ความจำมีเสถียรภาพ” Mednick ได้อธิบาย “แต่จากการศึกษาในอดีตนั้นยังมีหลักฐานที่ขัดแย้งเกี่ยวกับการนอนหลับที่ทำให้ระบบความจำทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น” ซึ่งก็สอดคล้องกับ Mednick ที่ชี้ว่า บางทีเหตุการณ์ที่ไม่สามารถระบุได้ในช่วงที่นอนหลับอยู่นั้น มีความสำคัญต่อกระบวนการเป็นอย่างมาก เนื่องจากระบบความจำในช่วงที่ตื่นนอนจะช่วยให้ระบบประสาทอัตโนมัติทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น Mednick ได้ทำการทดสอบระบบประสาทอัตโนมัติที่มีความเป็นไปได้ว่า ไม่มีความเชื่อมโยงกันในช่วงที่นอนหลับอยู่
จากการทดสอบนี้ Mednick กับคณะทีมวิจัยก็ได้เพิ่มแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ที่เรียกว่า Remote Associates Test (RAT) ระหว่างที่ทำการทดสอบ RAT นั้น คณะทีมวิจัยก็ให้ผู้ทดสอบทำการงีบหลับและทำการประเมินผลของการนอนหลับกับการทำงานของหัวใจ
จากการศึกษาส่วนแรกนั้น ตัวแทนทั้ง 81 คนได้แสดงให้เห็นถึงปัญหาการทดสอบ RAT จากการใช้คำที่ไม่มีความเกี่ยวข้องทั้ง 3 คำ (เช่น คุกกี้ สิบหก หัวใจ) และยังพบว่ายังมีคำอื่นๆอีก (เช่น หวาน) ซึ่งมีความเชื่อมโยงกันทั้ง 3 คำ ตัวแทนบางคนก็ได้สอบถามถึงคำที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน คำตอบนั้นก็จะต้องมาแก้ปัญหาในแบบทดสอบ RAT ครั้งที่สองหลังจากที่มีการงีบหลับแล้ว หลังจากที่ทำแบบทดสอบแล้ว ตัวแทนทั้ง 60 คนต่างก็ใช้เวลางีบหลับเป็นเวลา 90 นาที ในขณะที่ทำการดูวีดีโอนั้น วันต่อมาตัวแทนทุกคนได้กับมาที่ห้องทดลองและทำการแก้ปัญหาในแบบทดสอบ RAT ครั้งที่สอง ปัญหาก็คือ มีการระบุคำที่มาจากแบบทดสอบก่อนหน้านี้ (การทำซ้ำ) มีคำแปลกใหม่ (ความไม่คุ้นเคย) หรือมีการใช้คำตอบแบบเดียวกัน (ปัจจัยพื้นฐาน)
แต่ละคนที่งีบหลับนั้นดูเหมือนจะแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ในตอนบ่ายได้ดีกว่า เมื่อเทียบกับคนที่ให้คำตอบโดยที่ไม่ได้งีบหลับ พูดง่ายๆก็คือ การงีบหลับจะช่วยในเรื่องของความยืดหยุ่นทางความคิดและเมื่อเทียบกับคำที่ดูสดใหม่และมีค่าด้วยแล้ว สิ่งสำคัญก็คือ เกือบ 40 เปอร์เซ็นต์ผู้คนแก้ปัญหาได้ดียิ่งขึ้นจากการทดสอบ REM เมื่อนักวิจัยได้ทำการตรวจสอบอัตราการเต้นของหัวใจระหว่างที่ทำ REM แล้ว ก็พบว่า 73 เปอร์เซ็นต์ช่วยผู้คนแก้ปัญหาได้ดียิ่งขึ้น
“การค้นพบนี้ชี้ให้เห็นว่า ระบบประสาทอัตโนมัติที่ทำงานระหว่างนอนหลับอยู่อาจจะยังไม่มีหลักฐานสนับสนุนได้ว่า การนอนหลับจะช่วยเพิ่มความจำมากขึ้น” Mednick กล่าว ผลลัพธ์ที่ออกมานี้ก็เป็นที่เข้าใจได้ถึงความเชื่อมโยงทางร่างกายกับจิตใจและความสัมพันธ์ระหว่างการนอนหลับ ภาวะหัวใจและหลอดเลือดและกระบวนการหยั่งรู้
ผู้แปล : Mr.lawrence10
ที่มา : sciencedaily.com