ข้อมูลพื้นฐาน
- ผักหวานป่าที่ประสงค์จะใช้ระบบหัวน้ำหยดมีอยู่ 2 แปลงใกล้ๆกัน จำนวนรวม 700 หลุมโดยแต่ละหลุมห่างกัน 2.5 เมตร
(ที่จริงมีแปลงเล็กอื่นอีกที่ไม่เป็นผืนเดียวกันเพราะมีต้นไม้ประเภทอื่นอยู่ก่อน)
- มีแท้งค์ซีเมนต์ 2 ลูกความจุรวม 10,000 ลิตร (แหล่งน้ำซัมเมอร์สจากแม่น้ำ)
- เดิมทีแท้งค์ซีเมนต์ 2 ลูกนี้ ใช้สำหรับจ่ายน้ำลำใยแบบสปริงเกอร์ราว 250 ต้น *จ่ายโดยไม่มีปั๊มซึ่งมีแรงสะบัดพอใช้ได้
ซึ่งแบ่งจ่ายทีลโซนๆ แต่ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว
เรียนขอคำแนะนำ ถ้าจะวางระบบท่อน้ำหยด(หัวน้ำหยด)สำหรับจ่ายน้ำเฉพาะผักหวานป่าเท่านั้น
1 ต้องใช้ท่อ PVC เส้นหลักกี่นิ้ว และเส้นรองกี่นิ้ว
2 ขนาดท่อ PE และชนิดหัวน้ำหยดที่เหมาะสม
3 อัตราน้ำที่เหมาะสมสำหรับการหยด “ผักหวานป่า” (ตั้งใจรดทุกวัน)
4 ปั๊มน้ำสำหรับจ่ายน้ำ(ถกเถียงว่าจำเป็นหรือไม่โดยเทียบกับการใช้งานสปริงเกอร์ลำไยที่ผ่านมา) ถ้าจำเป็นต้องใช้ ปั๊มไฟฟ้าแบบไหน ขนาดเท่าไหร่ และบางคนบอกว่าถ้าใช้ถังน้ำย่อย 200 ลิตรแต่ละแปลงๆ ก็ไม่ต้องใช้ปั๊มเลย
5 เราควรจ่ายน้ำจากแท้งค์ซีเมนต์โดยตรงเลยหรือว่าใช้ถังพักน้ำสีฟ้า 200 ลิตรในแต่ละแปลง
ขอบคุณค่ะ
ขอคำแนะนำ อุปกรณ์และการวางระบบหัวน้ำหยดสำหรับผักหวาานป่า
- ผักหวานป่าที่ประสงค์จะใช้ระบบหัวน้ำหยดมีอยู่ 2 แปลงใกล้ๆกัน จำนวนรวม 700 หลุมโดยแต่ละหลุมห่างกัน 2.5 เมตร
(ที่จริงมีแปลงเล็กอื่นอีกที่ไม่เป็นผืนเดียวกันเพราะมีต้นไม้ประเภทอื่นอยู่ก่อน)
- มีแท้งค์ซีเมนต์ 2 ลูกความจุรวม 10,000 ลิตร (แหล่งน้ำซัมเมอร์สจากแม่น้ำ)
- เดิมทีแท้งค์ซีเมนต์ 2 ลูกนี้ ใช้สำหรับจ่ายน้ำลำใยแบบสปริงเกอร์ราว 250 ต้น *จ่ายโดยไม่มีปั๊มซึ่งมีแรงสะบัดพอใช้ได้
ซึ่งแบ่งจ่ายทีลโซนๆ แต่ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว
เรียนขอคำแนะนำ ถ้าจะวางระบบท่อน้ำหยด(หัวน้ำหยด)สำหรับจ่ายน้ำเฉพาะผักหวานป่าเท่านั้น
1 ต้องใช้ท่อ PVC เส้นหลักกี่นิ้ว และเส้นรองกี่นิ้ว
2 ขนาดท่อ PE และชนิดหัวน้ำหยดที่เหมาะสม
3 อัตราน้ำที่เหมาะสมสำหรับการหยด “ผักหวานป่า” (ตั้งใจรดทุกวัน)
4 ปั๊มน้ำสำหรับจ่ายน้ำ(ถกเถียงว่าจำเป็นหรือไม่โดยเทียบกับการใช้งานสปริงเกอร์ลำไยที่ผ่านมา) ถ้าจำเป็นต้องใช้ ปั๊มไฟฟ้าแบบไหน ขนาดเท่าไหร่ และบางคนบอกว่าถ้าใช้ถังน้ำย่อย 200 ลิตรแต่ละแปลงๆ ก็ไม่ต้องใช้ปั๊มเลย
5 เราควรจ่ายน้ำจากแท้งค์ซีเมนต์โดยตรงเลยหรือว่าใช้ถังพักน้ำสีฟ้า 200 ลิตรในแต่ละแปลง
ขอบคุณค่ะ