“แร่หมื่นล้านบ้านกลางน้ำถ้ำงามตา ภูพาแปลก แมกไม้จำปูน บริบูรณ์ด้วยทรัพยากร” คำขวัญ ประจำจังหวัดพังงา เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นป่าเขา อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 788 กิโลเมตร ชื่อของจังหวัดพังงานั้นเดิมน่าจะเรียกว่า “เมืองภูงา” ตามชื่อเขางา หรือเขาพังงา ซึ่งอยู่ในตัวเมืองพังงาในปัจจุบัน เมื่อตั้งเมืองขึ้นจึงเรียกกันว่า “เมืองภูงา” เมืองภูงานี้อาจจะตั้งชื่อให้คล้องจองเป็นคู่กับเมืองภูเก็ตมาแต่เดิมก็ได้ แต่เหตุที่เมืองภูงากลายเป็นเมืองพังงานั้น สันนิษฐานว่าน่าจะมาจากเมืองภูงาเป็นเมืองที่มีแร่อุดมสมบูรณ์จึงมีฝรั่งมา ติดต่อซื้อขายแร่ดีบุกกันมาก และฝรั่งเหล่านี้คงจะออกเสียงเมืองภูงาเป็นเมือง “พังงา”
ทริปนี้เป็นทริปสั้นๆ 2 วัน 1 คืน เน้นสไตล์เที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ และศิลปะวัฒนธรรม อาชีพหลักของคนพังงา คือ เกษตรกรรม ความเป็นอยู่ของชาวพังงาเป็นแบบเรียบง่าย ไม่นิยมความฟุ้งเฟ้อ สถานบริการ หรือสถานบันเทิงในจังหวัดพังงามีน้อย คนพังงาชอบทำอาหารรับประทานกันเองที่บ้าน ไม่นิยมเที่ยวนอกบ้าน
วันที่ 1 หมู่บ้านชาวประมง บ้านบางพัฒฯ หมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่ได้รับรางวัลชุมชนต้นแบบดีเด่นอันดับ 1 และเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ประจำปี 2556 บ้านบางพัฒฯ เป็นชุมชนมุสลิมที่ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน (ประมงชายฝั่ง )เช่น อวนลอย ปู ปลา กุ้ง และยังเป็นแหล่งเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งด้วย เช่น การเลี้ยงหอยนางรม หอยแมลงภู่ ปลาเก๋าและปลากระพง โดยมี นายสวัสดี วาหะรักษ์ เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก
ส่วนกิจกรรมสุดฮิตที่หมู่นักท่องเที่ยวนิยมทำกันคือ ปล่อยพันธุ์ปู และนั่งเรือออกทะเลเพื่อปลูกป่าชายเลน และเลือกช้อปผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแปลรูปที่มีมากมาย ส่วนใครที่ชื่นชอบเมนูอาหารทะเล และยังมีร้านอาหารทะเลรสชาติดี แถมราคาไม่แพงอีกด้วย
หลังจากอิ่มท้องแล้ว ก็ออกเดินทางสู่ บ้านเขาตาหนอน ต.ถ้าทองหลาง อ.ทับปุด แหล่งผลิตขมิ้นที่สาคัญ และที่นี่กลุ่มอาชีพสตรีบ้านเขาตาหนอนได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จนได้รับการรับรองจากองค์การอาหารและยา (อย.) และได้รับการคัดสรรเป็นสินค้าหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ระดับ 5 ดาว
โครงการนี้สามารถเพิ่มรายได้ให้กับชุมชน กลายเป็นสินค้าเชิดหน้าชูตาของ จ.พังงา อีกทั้งมีสถาบันเกษตรกรจากที่อื่นมาศึกษาดูงาน เพื่อนาไปเป็นแบบอย่างอยู่เป็นประจา ประโยชน์ของขมิ้นมีมากมาย ช่วยต้านและทาลายเชื้อไวรัสบางชนิด ช่วยบาบัดการแข็งตัวของหลอดเลือด ช่วยลดอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ บารุงสมอง และชะลอการเกิดอัลไซเมอร์ เป็นต้น จากการวิจัยของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พบว่า ขมิ้นที่ปลูกใน ต.ถ้าทองหลาง มีสารเคอคิวมินมากกว่าที่ปลูกในแหล่งอื่นถึง 5 เท่า จึงเป็นที่ยอมรับถึงความเป็นที่สุดของคุณภาพ และความปลอดภัยในสารเคมี พังงา มีขมิ้น ที่มีสารเคอคิวมินมากกว่าที่อื่นถึง 5 เท่า เป็นที่ยอมรับถึงคุณภาพและความปลอดภัยในสารเคมี
วันที่ 2 เที่ยว ชม ช้อป เดินทางสู่ เมืองเก่าตะกั่วป่า นั่งรถสองแถวพาหนะท้องถิ่นของคนตะกั่วป่า พาไปชมวิถีชีวิตของเมืองตะโกลา เริ่มต้นจาก จวนเจ้าเมือง สร้างขึ้นล้อมรอบจวนที่พักเจ้าเมืองตะกั่วป่าในขณะนั้น สันนิษฐานว่า สร้างในสมัยพระยาเสนานุชิต(นุช)เจ้าเมืองตะกั่วป่า ราวๆ พ.ศ.2383-2424 ซากเรือกลไฟเป็นชิ้นส่วนของเรือกลไฟ สันนิษฐานว่าเมื่อเรือลานี้เสื่อมสภาพได้จมลงบริเวณลาน้าตะกั่วป่าแต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าจมลงเมื่อใดพบเพียงชิ้นส่วนหม้อสตีมไอน้าตั้งอยู่หน้ากาแพงจวนเจ้าเมืองตะกั่วป่าชี้ให้เห็นว่าในอดีตบริเวณนี้เคยเป็นลาน้าใหญ่มาก่อน หม้อสตีมไอน้าเรือกลไฟเป็นโบราณวัตถุที่มีคุณค่าด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเจริญด้านพาณิชย์ของเมืองตะกั่วป่าในสมัยอดีต บ้านขุนอินทร์ สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2460 เป็นบ้านอยู่อาศัยของ ร.อ.ท. ขุนอินทรคีรี (ช้อย ณ นคร) หลานพระยาเสนานุชิต (นุช ณ นคร) ผู้สาเร็จราชการเมืองตะกั่วป่า และดารงตาแหน่งนายอาเภอตะกั่วป่า อาคารแห่งนี้ก่อสร้างโดยช่างฝีมือชาวจีน ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของตระกูล ณ นคร ตึกขุนอินทร์เป็นโบราณสถานที่มีคุณค่าด้านสถาปัตยกรรม
โรงเรียนเต้าหมิง สร้างขึ้นเมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2465 โดยการเรี่ยไรเงินทุนจากเศรษฐีเหมืองแร่และพ่อค้าชาวจีนในตลาดเก่า ตลาดย่านยาว จังหวัดระนองและภูเก็ตเพื่อให้บุตรหลานของคนจีนที่อาศัยอยู่ในเมืองตะกั่วป่าได้เล่าเรียนหนังสือโดยจัดให้มีการสอนภาษาจีนสร้างโดยช่างฝีมือชาวจีนเป็นโบราณสถานที่มีคุณค่าด้านสถาปัตยกรรม
ขนมเต้าส้อแม่อารี ของฝากขึ้นชื่ออีกอย่างหนึ่งของจังหวัดและแหล่งที่ทามากที่สุดคือ เขตอาเภอตะกั่วป่า รสชาติและกลิ่นหอมๆ ของขนมเต้าส้อที่เพิ่งนาออกจากเตาใหม่ ๆนั้นเมื่อได้ลองลิ้มชิมรสแล้ว จะยิ่งตอกย้าความเป็นต้นตารับของขนมเต้าส้อได้อย่างชัดเจน เริ่มตั้งแต่แป้งของขนมที่กรอบนอกนุ่มใน และไส้ขนมแต่ละไส้ก็ยังมีรสชาติที่อร่อยแตกต่างกันออกไปอีกด้วย
และหลังจากนั้นชมพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิตท่ามกลางสถาปัตยกรรมโบราณชิโนโปรตุกีส รวมถึง Street Art ที่ชาวตะกั่วป่าได้รังสรรค์เล่าประวัติความเป็นมาผ่านทางภาพวาดนั่นเอง
ก่อนเดินทางกลับ แวะลิ้มรสอาหารท้องถิ่นจากร้านชื่อดัง ร้านบ้านปลาแนม ร้านอาหารพื้นเมือง กับร้านสวยๆ มีเมนูที่หาทานที่อื่นได้ยากหลากหลายเมนู สำหรับมื้อนี้แนะนำ "จ้อแหร้ง" แกงกะทิกุ้ง ใส่ตะไคร้ ส้มแจก ขมิ้น ปรุงออกมารสชาติดี หากินได้ไม่ง่าย "หมูผัดเคยเค็ม" ผัดมาไม่เค็มมาก "เห็ดแครงหมก" เมนูประจำฤดูฝน หมกมาได้หอมตั้งแต่ยังไม่แกะห่อ เปิดมาทั้งหอม ทั้งอร่อย "ต้มส้มปลากระบอก" ต้มส้มใส่ปลาสดๆและใบมะขามหอมหวาน รับรองว่าทุกคนจะต้องติดใจ
สาหรับโครงการ อาหารถิ่น ตะลุยกินทั่วไทย นั้นเป็นหนึ่งในโครงการที่เน้นในเรื่องของการพาไปลองลิ้มชิมรสอาหารต้นตารับโอชะ ซึ่งเป็นอาหารที่หาทานได้เฉพาะถิ่นนั้นๆ แสดงถึงเอกลักษณ์ประจาท้องถิ่นของไทยในทั่วทุกภูมิภาค พร้อมนาเสนอการเที่ยวชิมที่แนะนาโดยกูรูผู้รู้จริง เพื่อให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวได้เข้าถึงอาหารเอกลักษณ์ประจาท้องถิ่น ณ สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ทั่วประเทศไทย เพื่อรณรงค์ให้เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านการท่องเที่ยวซึ่งเป็นรายได้สาคัญของประเทศไทยในอนาคตอีกด้วย
[CR] รีวิว เที่ยวจ.พังงา ในสไตล์สโลว์ไลฟ์ 2 วัน 1 คืน
ทริปนี้เป็นทริปสั้นๆ 2 วัน 1 คืน เน้นสไตล์เที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ และศิลปะวัฒนธรรม อาชีพหลักของคนพังงา คือ เกษตรกรรม ความเป็นอยู่ของชาวพังงาเป็นแบบเรียบง่าย ไม่นิยมความฟุ้งเฟ้อ สถานบริการ หรือสถานบันเทิงในจังหวัดพังงามีน้อย คนพังงาชอบทำอาหารรับประทานกันเองที่บ้าน ไม่นิยมเที่ยวนอกบ้าน
วันที่ 1 หมู่บ้านชาวประมง บ้านบางพัฒฯ หมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่ได้รับรางวัลชุมชนต้นแบบดีเด่นอันดับ 1 และเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ประจำปี 2556 บ้านบางพัฒฯ เป็นชุมชนมุสลิมที่ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน (ประมงชายฝั่ง )เช่น อวนลอย ปู ปลา กุ้ง และยังเป็นแหล่งเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งด้วย เช่น การเลี้ยงหอยนางรม หอยแมลงภู่ ปลาเก๋าและปลากระพง โดยมี นายสวัสดี วาหะรักษ์ เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก
ส่วนกิจกรรมสุดฮิตที่หมู่นักท่องเที่ยวนิยมทำกันคือ ปล่อยพันธุ์ปู และนั่งเรือออกทะเลเพื่อปลูกป่าชายเลน และเลือกช้อปผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแปลรูปที่มีมากมาย ส่วนใครที่ชื่นชอบเมนูอาหารทะเล และยังมีร้านอาหารทะเลรสชาติดี แถมราคาไม่แพงอีกด้วย
หลังจากอิ่มท้องแล้ว ก็ออกเดินทางสู่ บ้านเขาตาหนอน ต.ถ้าทองหลาง อ.ทับปุด แหล่งผลิตขมิ้นที่สาคัญ และที่นี่กลุ่มอาชีพสตรีบ้านเขาตาหนอนได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จนได้รับการรับรองจากองค์การอาหารและยา (อย.) และได้รับการคัดสรรเป็นสินค้าหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ระดับ 5 ดาว
โครงการนี้สามารถเพิ่มรายได้ให้กับชุมชน กลายเป็นสินค้าเชิดหน้าชูตาของ จ.พังงา อีกทั้งมีสถาบันเกษตรกรจากที่อื่นมาศึกษาดูงาน เพื่อนาไปเป็นแบบอย่างอยู่เป็นประจา ประโยชน์ของขมิ้นมีมากมาย ช่วยต้านและทาลายเชื้อไวรัสบางชนิด ช่วยบาบัดการแข็งตัวของหลอดเลือด ช่วยลดอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ บารุงสมอง และชะลอการเกิดอัลไซเมอร์ เป็นต้น จากการวิจัยของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พบว่า ขมิ้นที่ปลูกใน ต.ถ้าทองหลาง มีสารเคอคิวมินมากกว่าที่ปลูกในแหล่งอื่นถึง 5 เท่า จึงเป็นที่ยอมรับถึงความเป็นที่สุดของคุณภาพ และความปลอดภัยในสารเคมี พังงา มีขมิ้น ที่มีสารเคอคิวมินมากกว่าที่อื่นถึง 5 เท่า เป็นที่ยอมรับถึงคุณภาพและความปลอดภัยในสารเคมี
วันที่ 2 เที่ยว ชม ช้อป เดินทางสู่ เมืองเก่าตะกั่วป่า นั่งรถสองแถวพาหนะท้องถิ่นของคนตะกั่วป่า พาไปชมวิถีชีวิตของเมืองตะโกลา เริ่มต้นจาก จวนเจ้าเมือง สร้างขึ้นล้อมรอบจวนที่พักเจ้าเมืองตะกั่วป่าในขณะนั้น สันนิษฐานว่า สร้างในสมัยพระยาเสนานุชิต(นุช)เจ้าเมืองตะกั่วป่า ราวๆ พ.ศ.2383-2424 ซากเรือกลไฟเป็นชิ้นส่วนของเรือกลไฟ สันนิษฐานว่าเมื่อเรือลานี้เสื่อมสภาพได้จมลงบริเวณลาน้าตะกั่วป่าแต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าจมลงเมื่อใดพบเพียงชิ้นส่วนหม้อสตีมไอน้าตั้งอยู่หน้ากาแพงจวนเจ้าเมืองตะกั่วป่าชี้ให้เห็นว่าในอดีตบริเวณนี้เคยเป็นลาน้าใหญ่มาก่อน หม้อสตีมไอน้าเรือกลไฟเป็นโบราณวัตถุที่มีคุณค่าด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเจริญด้านพาณิชย์ของเมืองตะกั่วป่าในสมัยอดีต บ้านขุนอินทร์ สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2460 เป็นบ้านอยู่อาศัยของ ร.อ.ท. ขุนอินทรคีรี (ช้อย ณ นคร) หลานพระยาเสนานุชิต (นุช ณ นคร) ผู้สาเร็จราชการเมืองตะกั่วป่า และดารงตาแหน่งนายอาเภอตะกั่วป่า อาคารแห่งนี้ก่อสร้างโดยช่างฝีมือชาวจีน ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของตระกูล ณ นคร ตึกขุนอินทร์เป็นโบราณสถานที่มีคุณค่าด้านสถาปัตยกรรม
โรงเรียนเต้าหมิง สร้างขึ้นเมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2465 โดยการเรี่ยไรเงินทุนจากเศรษฐีเหมืองแร่และพ่อค้าชาวจีนในตลาดเก่า ตลาดย่านยาว จังหวัดระนองและภูเก็ตเพื่อให้บุตรหลานของคนจีนที่อาศัยอยู่ในเมืองตะกั่วป่าได้เล่าเรียนหนังสือโดยจัดให้มีการสอนภาษาจีนสร้างโดยช่างฝีมือชาวจีนเป็นโบราณสถานที่มีคุณค่าด้านสถาปัตยกรรม
ขนมเต้าส้อแม่อารี ของฝากขึ้นชื่ออีกอย่างหนึ่งของจังหวัดและแหล่งที่ทามากที่สุดคือ เขตอาเภอตะกั่วป่า รสชาติและกลิ่นหอมๆ ของขนมเต้าส้อที่เพิ่งนาออกจากเตาใหม่ ๆนั้นเมื่อได้ลองลิ้มชิมรสแล้ว จะยิ่งตอกย้าความเป็นต้นตารับของขนมเต้าส้อได้อย่างชัดเจน เริ่มตั้งแต่แป้งของขนมที่กรอบนอกนุ่มใน และไส้ขนมแต่ละไส้ก็ยังมีรสชาติที่อร่อยแตกต่างกันออกไปอีกด้วย
และหลังจากนั้นชมพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิตท่ามกลางสถาปัตยกรรมโบราณชิโนโปรตุกีส รวมถึง Street Art ที่ชาวตะกั่วป่าได้รังสรรค์เล่าประวัติความเป็นมาผ่านทางภาพวาดนั่นเอง
ก่อนเดินทางกลับ แวะลิ้มรสอาหารท้องถิ่นจากร้านชื่อดัง ร้านบ้านปลาแนม ร้านอาหารพื้นเมือง กับร้านสวยๆ มีเมนูที่หาทานที่อื่นได้ยากหลากหลายเมนู สำหรับมื้อนี้แนะนำ "จ้อแหร้ง" แกงกะทิกุ้ง ใส่ตะไคร้ ส้มแจก ขมิ้น ปรุงออกมารสชาติดี หากินได้ไม่ง่าย "หมูผัดเคยเค็ม" ผัดมาไม่เค็มมาก "เห็ดแครงหมก" เมนูประจำฤดูฝน หมกมาได้หอมตั้งแต่ยังไม่แกะห่อ เปิดมาทั้งหอม ทั้งอร่อย "ต้มส้มปลากระบอก" ต้มส้มใส่ปลาสดๆและใบมะขามหอมหวาน รับรองว่าทุกคนจะต้องติดใจ
สาหรับโครงการ อาหารถิ่น ตะลุยกินทั่วไทย นั้นเป็นหนึ่งในโครงการที่เน้นในเรื่องของการพาไปลองลิ้มชิมรสอาหารต้นตารับโอชะ ซึ่งเป็นอาหารที่หาทานได้เฉพาะถิ่นนั้นๆ แสดงถึงเอกลักษณ์ประจาท้องถิ่นของไทยในทั่วทุกภูมิภาค พร้อมนาเสนอการเที่ยวชิมที่แนะนาโดยกูรูผู้รู้จริง เพื่อให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวได้เข้าถึงอาหารเอกลักษณ์ประจาท้องถิ่น ณ สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ทั่วประเทศไทย เพื่อรณรงค์ให้เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านการท่องเที่ยวซึ่งเป็นรายได้สาคัญของประเทศไทยในอนาคตอีกด้วย