คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
311,159.33 คือยอดที่ศาลพิพากษาให้ชำระนับถึงวันฟ้อง
ส่วนดอกเบี้ยร้อยละ 15 คือ ดอกเบี้ยนับถัดจากวันฟ้องจนกว่าจะชำระเสร็จ
238,208.37*15/100 = ดอกเบี้ยปีละประมาณ 35,731 บาท
เงินต้น+ดอกเบี้ย 10 ปี = 311,159.33+(35,731*10) = 668,469.33.- บาท
ส่วนดอกเบี้ยร้อยละ 15 คือ ดอกเบี้ยนับถัดจากวันฟ้องจนกว่าจะชำระเสร็จ
238,208.37*15/100 = ดอกเบี้ยปีละประมาณ 35,731 บาท
เงินต้น+ดอกเบี้ย 10 ปี = 311,159.33+(35,731*10) = 668,469.33.- บาท
▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼
แสดงความคิดเห็น
คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ
รบกวนสอบถามครับ กรณีพิพากษาให้ลูกหนี้ชำระหนี้ ต้องคำนวณอย่างไรครับ
เนื่องจากสงสัยวิธีการคิดดอกเบี้ยตามคำสั่งศาลครับ
พิพากษาว่า ให้จำเลยชำระเงินแก่โจทก์เป็นเงินทั้งสิ้น 311,159.33 บาท
- พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 15 ของเงินต้นจากสินเชื่อบัตร 24,550.74 บาท
- ดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 15 จากสินเชื่อบัตร จำนวน 93,657.63 บาท และ
- ดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 15 จากสินเชื่อหมุนเวียน จำนวน 120,000.00 บาท
คำถามคือ สอบถามว่า กรณีนี้คือคิดดอกเบี้ยร้อยละ 15 จากยอดเงินรวม 24,550.74 + 93,657.63 + 120,000.00 = 238,208.40 บาท
1. คำว่า ร้อยละ 15 จากยอดเหล่านั้น อันนี้ คิดแบบทบต้นทบดอกหรือไม่ครับ
2. หมายความว่าให้เอายอด 311,159.33 + ดอกเบี้ย 15% ในแต่ละปี ของยอด 238,208.40 ใช่หรือไม่ครับ
3. หากจะคิดเป็นดอกเบี้ยพร้อมเงินที่ต้องชำระแต่ละปีเป็นเวลา 10 ปี ต้องคิดอย่างไรครับ
ขอความกรุณาด้วยครับ ขอบพระคุณล่วงหน้าครับ