สุภาษิต คำพังเพย บางอัน ไม่เป็นสัจธรรม ไม่เป็นจริงทุกๆกรณี ยกตัวอย่าง เช่น
ตัวอย่างที่ 1
พระสมุทรสุดลึกล้น..........คณนา
สายดิ่งทิ้งทอดมา.............หยั่งได้
เขาสูงอาจวัดวา...............กำหนด
จิตมนุษย์นี้ไซร้.................ยากแท้หยั่งถึง
แปลเป็นไทยอีกทีได้ว่า ...มหาสมุทรไม่ว่าจะลึกแค่ไหนก็ยังสามารถหยั่งได้ ภูเขาสูงก็ยังวัดได้ แต่ใจคนยากแท้หยังถึง...
มาวิเคราะห์ดู ...ถ้าคำว่าหยั่ง ใช้ในความหมายเดียวกัน เพื่อเปรียบ มหาสมุทร กับใจคน ทั่ง 2 อย่างนี้จะไม่ต่างกันเลย ไม่ว่าคำว่าใจจะหมายถึงหัวใจ หรือ สมอง ซึ่งเป็นตัวทำให้เกิดเป็นความคิด หรือเรียกว่าใจ (mind) ก็ตาม...
ถ้าคำว่า "หยั่ง" หมายถึงการวัดระยะ ว่าลึกตื้น หนา บาง ใจคนก็สามารถหยั่งได้เช่นเดียวกันกับมหาสมุทร อาจจะง่ายกว่าด้วยซ้ำ เพราะรู้เลยว่าอยู่อกด้านซ้าย ลึกลงไปไม่เกิน 1 ฟุตหรอก หรือถ้าใจคนหมายถึงสมองซึ่งเป็นตัวทำให้เกิดเป็นความคิด หรือเรียกว่าใจ (mind) ก็อยู่ลึกลงไปในกระโหลกศรีษะไม่เกิน 3 นิ้ว ....
ถ้าคำว่า "หยั่ง" หมายถึง การล่วงรู้ การคาดการณ์ มหาสมุทรก็ไม่อาจล่วงรู้ หรือ คาดการณ์ได้ง่ายๆ เช่นเดียวกับใจคน
จากตัวอย่างจะเห็นชัดว่าสุภาษิต คำพังเพย ไม่เป็นจริงในทุกๆกรณี มีเพียงแต่การเล่นคำ การใช้คำคล้องจอง หรืออะไรทำนองนั้น
ตัวอย่างที่ 2
รำไม่ดี โทษปี่โทษกลอง
สุภาษิต คำพังเพยนี้ ไม่ว่าจะแปล หรือไม่แปลก็ได้ความหมายแบบเดียวกัน ซึ่งไม่เป็นจริงทุกกรณี มีถูกบ้างบางส่วนเท่านั้น คือ เขาอาจจะร้อง หริอรำไม่ดีจริงๆ ก็ได้ แล้วไปโทษนักดนตรีว่าเล่นเพี้ยน หรือในทางกลับกัน นักดนตรีอาจจะเล่นไม่ดี เล่นเพี้ยนจริงๆก็ได้ จนทำให้เขาร้องหลงคีย์ หรือรำสะดุด ก็ได้ ....นี่ก็ชัดเจนว่า สุภาษิต คำพังเพยไม่ได้เป็นจริงในทุกๆกรณี มีเพียงแต่การเล่นคำ การใช้คำคล้องจอง หรืออะไรทำนองนั้น
จากที่กล่าวมา จะเห็นได้ว่า สุภาษิต คำพังเพย ของไทยหลายๆ อัน ไม่ได้เป็นจริงในทุกๆกรณี มีเพียงแต่การเล่นคำ การใช้คำคล้องจอง หรืออะไรทำนองนั้น อาจจะจริงบางส่วน แต่ไม่ใช่ทุกๆกรณี...
ทำไม สุภาษิต คำพังเพย บางอัน ดูเหมือนไม่ได้พิจารณาตามความเป็นจริงเลยครับ
ตัวอย่างที่ 1
พระสมุทรสุดลึกล้น..........คณนา
สายดิ่งทิ้งทอดมา.............หยั่งได้
เขาสูงอาจวัดวา...............กำหนด
จิตมนุษย์นี้ไซร้.................ยากแท้หยั่งถึง
แปลเป็นไทยอีกทีได้ว่า ...มหาสมุทรไม่ว่าจะลึกแค่ไหนก็ยังสามารถหยั่งได้ ภูเขาสูงก็ยังวัดได้ แต่ใจคนยากแท้หยังถึง...
มาวิเคราะห์ดู ...ถ้าคำว่าหยั่ง ใช้ในความหมายเดียวกัน เพื่อเปรียบ มหาสมุทร กับใจคน ทั่ง 2 อย่างนี้จะไม่ต่างกันเลย ไม่ว่าคำว่าใจจะหมายถึงหัวใจ หรือ สมอง ซึ่งเป็นตัวทำให้เกิดเป็นความคิด หรือเรียกว่าใจ (mind) ก็ตาม...
ถ้าคำว่า "หยั่ง" หมายถึงการวัดระยะ ว่าลึกตื้น หนา บาง ใจคนก็สามารถหยั่งได้เช่นเดียวกันกับมหาสมุทร อาจจะง่ายกว่าด้วยซ้ำ เพราะรู้เลยว่าอยู่อกด้านซ้าย ลึกลงไปไม่เกิน 1 ฟุตหรอก หรือถ้าใจคนหมายถึงสมองซึ่งเป็นตัวทำให้เกิดเป็นความคิด หรือเรียกว่าใจ (mind) ก็อยู่ลึกลงไปในกระโหลกศรีษะไม่เกิน 3 นิ้ว ....
ถ้าคำว่า "หยั่ง" หมายถึง การล่วงรู้ การคาดการณ์ มหาสมุทรก็ไม่อาจล่วงรู้ หรือ คาดการณ์ได้ง่ายๆ เช่นเดียวกับใจคน
จากตัวอย่างจะเห็นชัดว่าสุภาษิต คำพังเพย ไม่เป็นจริงในทุกๆกรณี มีเพียงแต่การเล่นคำ การใช้คำคล้องจอง หรืออะไรทำนองนั้น
ตัวอย่างที่ 2
รำไม่ดี โทษปี่โทษกลอง
สุภาษิต คำพังเพยนี้ ไม่ว่าจะแปล หรือไม่แปลก็ได้ความหมายแบบเดียวกัน ซึ่งไม่เป็นจริงทุกกรณี มีถูกบ้างบางส่วนเท่านั้น คือ เขาอาจจะร้อง หริอรำไม่ดีจริงๆ ก็ได้ แล้วไปโทษนักดนตรีว่าเล่นเพี้ยน หรือในทางกลับกัน นักดนตรีอาจจะเล่นไม่ดี เล่นเพี้ยนจริงๆก็ได้ จนทำให้เขาร้องหลงคีย์ หรือรำสะดุด ก็ได้ ....นี่ก็ชัดเจนว่า สุภาษิต คำพังเพยไม่ได้เป็นจริงในทุกๆกรณี มีเพียงแต่การเล่นคำ การใช้คำคล้องจอง หรืออะไรทำนองนั้น
จากที่กล่าวมา จะเห็นได้ว่า สุภาษิต คำพังเพย ของไทยหลายๆ อัน ไม่ได้เป็นจริงในทุกๆกรณี มีเพียงแต่การเล่นคำ การใช้คำคล้องจอง หรืออะไรทำนองนั้น อาจจะจริงบางส่วน แต่ไม่ใช่ทุกๆกรณี...