สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 2
คห1 ค่อยๆอ่านไทม์ไลน์ แล้วบอกมาซิ ทักษิณทำอะไรยังไง เอาแต่ท่องตามเขามา
1.ยุครัฐบาล นายกฯ ชวน หลีกภัย 23 ก.ย. 35 – 13 ก.ค. 38
1.1รมว. คลัง คุณ ธารินทร์ 29 ก.ย. 35-18 ก.ค. 38
ผู้ว่า ธปท. คุณวิจิตร สุพินิจ 1 ต.ค. 33- 13 ก.ค. 39
•20 ธ.ค. 2537 Mexico Crisis มีการประกาศลดค่าเงินเปโซ 15%
2.ยุครัฐบาล นายกฯ บรรหาร ศิลปอาชา 13 ก.ค. 38 – 25 พ.ย. 39
2.1รมว. คลัง คุณ บดี 28 พ.ค. 39 – 27 ก.ย. 39 คุณ ชัยวัฒน์ 28 ก.ย. 39 – 28 พ.ย. 39
ผู้ว่า ธปท. คุณเริงชัย กะระกานนท์ 13 ก.ค. 39 - 28 ก.ค. 40
•พ.ย.-ธ.ค. 39 การโจมตีค่าเงินบาทครั้งแรก
3.ยุครัฐบาล พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ 25 พ.ย. 39 – 9 พ.ย. 2540
3.1รมว. คลัง คุณ อำนวย 29 พ.ย. 39 – 19 มิ.ย. 40 คุณ ทนง 21 มิ.ย. 40 – 23 ต.ค. 40
ผู้ว่า ธปท. คุณเริงชัย กะระกานนท์ 13 ก.ค. 39 - 28 ก.ค. 40
ผู้ว่า ธปท. คุณชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ 31 ก.ค. 40 – 4 พ.ค. 41
•27 มิ.ย. 40 ธปท. ประกาศระงับการดำเนินกิจการของ 16 สถาบันการเงิน (ประมาณว่า “จะเอาอยู่”)
•5 ส.ค. 40 (แต่ “เอาไม่อยู่”) กระทรวงการคลังและ ธปท. ประกาศมาตรการเสริมสร้างความเชื่อมั่นในระบบสถาบันการเงิน พร้อมประกาศระงับการดำเนินกิจกรรมของสถาบันการเงินอีก 42 แห่ง รวมเป็น 58 แห่ง
•11 ส.ค. 40 IMF ประกาศให้ความช่วยเหลือทางการเงิน (Rescue Package) จำนวน 1.6 หมื่นล้านเหรียญ ให้แก่ประเทศไทย
•23 ต.ค. 40 ดร. ทนง ลาออก ได้ คุณ โฆษิตดำรงตำแหน่ง รมว. คลัง แทน
•15 ส.ค. 40 ดร. ทักษิณ ชินวัตร เข้ารับตำแหน่ง รองนายกรัฐมนตรี
•8 พ.ย. 40 พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมตรี เป็นผลให้คณะรัฐมนตรี รวมทั้ง พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรพ้นจากตำแหน่งไปด้วยกัน
•ทุนสำรองระหว่างประเทศสุทธิคงเหลือสุทธิ ประมาณ 7 พันล้านเหรียญ (เทียบกับก่อนหน้า มียอดประมาณ 3-4 หมื่นล้านเหรียญ และปัจจุบันปี 2554 สะสมใหม่เป็นประมาณ 1.85 แสนล้านเหรียญ)
•ทำให้กองทุนฟื้นฟูต้องรับภาระหนี้เข้ามา โดยออกพันธบัตรนับถึงสิ้น พ.ย. 40 (ก่อนรวมหนี้เพิ่มและดอกเบี้ยทบต้นมาถึงปัจจุบัน) 5.63 แสนล้านบาท
4.ยุครัฐบาล ชวน หลีกภัย 9 พ.ย. 40 - 9 ก.พ. 44
4.1รมว. คลัง คุณ ธารินทร์ 14 พ.ย. 40 - 9 ก.พ. 44
ผู้ว่า ธปท. คุณชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ 31 ก.ค. 40 – 4 พ.ค. 41
ผู้ว่า ธปท. ม.ร.ว. จัตุมงคล โสณกุล 7 พ.ค. 41 – 30 พ.ค. 44
•7 ธันวาคม 40 รมว. คลัง แถลงรายชื่อสถาบันการเงินที่แผนฟื้นฟูผ่านการพิจารณาของ ปรส.
•ปรส.ขายสินทรัพย์ ในราคาประมาณ 30-40% ของมูลหนี้ (คล้ายๆที่เกิดขึ้นในสหรัฐฯ และ ยุโรปในปัจจุบัน)
1.ยุครัฐบาล นายกฯ ชวน หลีกภัย 23 ก.ย. 35 – 13 ก.ค. 38
1.1รมว. คลัง คุณ ธารินทร์ 29 ก.ย. 35-18 ก.ค. 38
ผู้ว่า ธปท. คุณวิจิตร สุพินิจ 1 ต.ค. 33- 13 ก.ค. 39
•20 ธ.ค. 2537 Mexico Crisis มีการประกาศลดค่าเงินเปโซ 15%
2.ยุครัฐบาล นายกฯ บรรหาร ศิลปอาชา 13 ก.ค. 38 – 25 พ.ย. 39
2.1รมว. คลัง คุณ บดี 28 พ.ค. 39 – 27 ก.ย. 39 คุณ ชัยวัฒน์ 28 ก.ย. 39 – 28 พ.ย. 39
ผู้ว่า ธปท. คุณเริงชัย กะระกานนท์ 13 ก.ค. 39 - 28 ก.ค. 40
•พ.ย.-ธ.ค. 39 การโจมตีค่าเงินบาทครั้งแรก
3.ยุครัฐบาล พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ 25 พ.ย. 39 – 9 พ.ย. 2540
3.1รมว. คลัง คุณ อำนวย 29 พ.ย. 39 – 19 มิ.ย. 40 คุณ ทนง 21 มิ.ย. 40 – 23 ต.ค. 40
ผู้ว่า ธปท. คุณเริงชัย กะระกานนท์ 13 ก.ค. 39 - 28 ก.ค. 40
ผู้ว่า ธปท. คุณชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ 31 ก.ค. 40 – 4 พ.ค. 41
•27 มิ.ย. 40 ธปท. ประกาศระงับการดำเนินกิจการของ 16 สถาบันการเงิน (ประมาณว่า “จะเอาอยู่”)
•5 ส.ค. 40 (แต่ “เอาไม่อยู่”) กระทรวงการคลังและ ธปท. ประกาศมาตรการเสริมสร้างความเชื่อมั่นในระบบสถาบันการเงิน พร้อมประกาศระงับการดำเนินกิจกรรมของสถาบันการเงินอีก 42 แห่ง รวมเป็น 58 แห่ง
•11 ส.ค. 40 IMF ประกาศให้ความช่วยเหลือทางการเงิน (Rescue Package) จำนวน 1.6 หมื่นล้านเหรียญ ให้แก่ประเทศไทย
•23 ต.ค. 40 ดร. ทนง ลาออก ได้ คุณ โฆษิตดำรงตำแหน่ง รมว. คลัง แทน
•15 ส.ค. 40 ดร. ทักษิณ ชินวัตร เข้ารับตำแหน่ง รองนายกรัฐมนตรี
•8 พ.ย. 40 พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมตรี เป็นผลให้คณะรัฐมนตรี รวมทั้ง พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรพ้นจากตำแหน่งไปด้วยกัน
•ทุนสำรองระหว่างประเทศสุทธิคงเหลือสุทธิ ประมาณ 7 พันล้านเหรียญ (เทียบกับก่อนหน้า มียอดประมาณ 3-4 หมื่นล้านเหรียญ และปัจจุบันปี 2554 สะสมใหม่เป็นประมาณ 1.85 แสนล้านเหรียญ)
•ทำให้กองทุนฟื้นฟูต้องรับภาระหนี้เข้ามา โดยออกพันธบัตรนับถึงสิ้น พ.ย. 40 (ก่อนรวมหนี้เพิ่มและดอกเบี้ยทบต้นมาถึงปัจจุบัน) 5.63 แสนล้านบาท
4.ยุครัฐบาล ชวน หลีกภัย 9 พ.ย. 40 - 9 ก.พ. 44
4.1รมว. คลัง คุณ ธารินทร์ 14 พ.ย. 40 - 9 ก.พ. 44
ผู้ว่า ธปท. คุณชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ 31 ก.ค. 40 – 4 พ.ค. 41
ผู้ว่า ธปท. ม.ร.ว. จัตุมงคล โสณกุล 7 พ.ค. 41 – 30 พ.ค. 44
•7 ธันวาคม 40 รมว. คลัง แถลงรายชื่อสถาบันการเงินที่แผนฟื้นฟูผ่านการพิจารณาของ ปรส.
•ปรส.ขายสินทรัพย์ ในราคาประมาณ 30-40% ของมูลหนี้ (คล้ายๆที่เกิดขึ้นในสหรัฐฯ และ ยุโรปในปัจจุบัน)
ความคิดเห็นที่ 6
ขายดาวเทียม ... สมบัติชาติ ????
555555
เอาฮา ใช่ไหม ???
เอาคร่าวๆ ก็ประมาณนี้ ...
ไทยเป็นประเทศสมาชิก ITU ดังนั้น จึงมีสิทธิจองวงโคจรดาวเทียม (ซึ่งไม่ใช่สมบัติของประเทศใดประเทศหนึ่ง)เพื่อส่งดาวเทียมขึ้นไป
ถ้าประเทศไหนไม่สามารถส่งดาวเทียมขึ้นไปได้ตามกำหนดเวลา ก็จะหมดสิทธิในวงโคจรนั้นๆ
รัฐบาลจะลงทุนเองก็เกรงไม่คุ้ม(หรือกลัวขาดทุน) จึงเปิดให้เอกชนลงทุนแทน โดยเปิดเป็นสัมปทานแบบ BTO (Built - Transfer - Operate)
บริษัทที่ประมูลได้ เป็นคนลงทุนสร้างดาวเทียม เมื่อสร้างเสร็จก็โอนให้เป็นของรัฐ (โอนให้กระทรวงคมนาคมในสมัยนั้น) จากนั้นบริษัทก็ได้สิทธิในการดำเนินการให้บริการดาวเทียม
ดังนั้น ดาวเทียม ... มันยังเป็นของรัฐ .... ซึ่งไม่มีทางที่จะถูกซื้อขายได้
ตำแหน่งวงโคจรของดาวเทียม ... ก็ไม่ใช่สมบัติชาติ และก็ไม่ได้ถูกขาย
ประมาณนี้แหล่ะ ....
555555
เอาฮา ใช่ไหม ???
เอาคร่าวๆ ก็ประมาณนี้ ...
ไทยเป็นประเทศสมาชิก ITU ดังนั้น จึงมีสิทธิจองวงโคจรดาวเทียม (ซึ่งไม่ใช่สมบัติของประเทศใดประเทศหนึ่ง)เพื่อส่งดาวเทียมขึ้นไป
ถ้าประเทศไหนไม่สามารถส่งดาวเทียมขึ้นไปได้ตามกำหนดเวลา ก็จะหมดสิทธิในวงโคจรนั้นๆ
รัฐบาลจะลงทุนเองก็เกรงไม่คุ้ม(หรือกลัวขาดทุน) จึงเปิดให้เอกชนลงทุนแทน โดยเปิดเป็นสัมปทานแบบ BTO (Built - Transfer - Operate)
บริษัทที่ประมูลได้ เป็นคนลงทุนสร้างดาวเทียม เมื่อสร้างเสร็จก็โอนให้เป็นของรัฐ (โอนให้กระทรวงคมนาคมในสมัยนั้น) จากนั้นบริษัทก็ได้สิทธิในการดำเนินการให้บริการดาวเทียม
ดังนั้น ดาวเทียม ... มันยังเป็นของรัฐ .... ซึ่งไม่มีทางที่จะถูกซื้อขายได้
ตำแหน่งวงโคจรของดาวเทียม ... ก็ไม่ใช่สมบัติชาติ และก็ไม่ได้ถูกขาย
ประมาณนี้แหล่ะ ....
แสดงความคิดเห็น
ขอถามเรื่อง ปตท. ดาวเทียม เกี่ยวกับทักษิณหน่อยค่ะ
คือหนูก็พอรู้ข้อดีข้อเสียของแต่ละฝั่ง อยู่บ้าง
แต่ข้อความนี้หนูเพิ่งเห็นน่ะค่ะ แล้วหนูรู้สึกว่า เฮ้ย จริงเหรอ (เอาจริงๆ หนูก็ปลื้มเศรษฐกิจยุคนั้นที่ใครๆก็ว่าดี) หนูรู้ว่าข้อความแค่นี้ ยังอธิบายอะไรได้ไม่หมด หนูจึงถามมาเพื่ออยากทราบข้อมูลมากกว่านี้ ให้คลายสงสัย
หนูค้นหาใน กูเกิลแล้ว แต่หนูไม่เจอ หรือหนูดูไม่ออกก็ไม่รู้ 555