ความหมาย
การสวนปัสสาวะ (Urinary catheterization) หมายถีง การสอดใส่สายสวนทีเรียกว่า catheter ผ่านทางท่อปัสสาวะเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะ เพื่อระบายปัสสาวะออกสู่ภายนอก ทำให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
การสวนปัสปัสสาวะมีอยู่ 2 แบบ
1. การสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว (intermittent catheterization) เป็นการสอดใส่สายสวนปัสสาวะผ่านทางท่อปัสสาวะเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ เพื่อระบายน้ำปัสสาวะออกจากกระเพาะปัสสาวะลงสู่ภาชนะเมื่อกระเพาะปัสสาวะว่างไม่มีน้ำปัสสาวะไหลออกมาจีงถอดสายสวนปัสสาวะออdกรณีนี้จะไม่คาสายปัสสาวะ โดยวิธีนี้จะใช้กับผู้ป่วยดังนี้
1. ผู้ป่วยที่ไม่สามารถปัสสาวะได้เองภายใน 6-8 ชั่วโมงหลังจากถ่ายปัสสาวะครั้งสุดท้าย เช่น ท่อปัสสาวะได้รับความกระทบกระเทีอนภายหลังผ่าตัด หลังคลอดบุตร ผลจากฤทธิ์ยาระงับความรู้สึกหรือยากดประสาท เป็นต้น
2. กรณีที่ผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะไม่ได้ เนื่องจากได้รับบาดเจ็บบริเวณไขสันหลัง
3. เพื่อเก็บปัสสาวะส่งตรวจเพื่อเพาะหาเชื้อ (urine culture) ในผู้ป่วยทีไม่สามารถถ่าปัสสาวะเองได้
4. เพื่อหาปริมาณของ resldual urine
2. การสวนคาสายสวนปัสสาวะ (indwelling catheterization or retained catheterlzatlon) เป็นการสอดใส่สายสวนปัสสาวะชนิด Foley catheter ผ่านทางท่อปัสสาวะเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ โดยกรณีนี้จะคาสายสวนปัสสาวะไว้
1. มีการอุดกั้นของท่อปัสสาวะ กรณีต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hypertrophy) ท่อปัสสาวะตีบแคบ (Urethral stricture)
2. ป้องกันการอุดกั้นของท่อปัสสาวะจากการมีก้อนลิ่มเลือดภายหลังผ่าตัดผ่านท่อปัสสาวะ (transurethral resection) หรือจากมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ (BIadder tumors)
3. เพื่อประเมินการทำงานของไต เช่น ผู้ป่วยในภาวะช็อกภายหลังได้รับอุบัติเหตุไฟไหม้ได้รับการผ่าตัดไม่รู้สึกตัว เป็นต้น
4. ผู้ป่วยที่กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ไม่รู้สึกตัว
5. เพื่อชะล้างกระเพาะปัสสาวะ (BIadder irrigation )
การเลือกใช้สายสวนปัสสาวะ
1. สายสวนปัสสาวะชนิดตรง(straigh catheter) ใช้สำหรับสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว
straigh catheter
2. สาย Foley catheter ใช้สำหรับสวนคาสายสวนปัสสาวะ มีอยู่ 2 ซนิดคือ Foley catheter ชนิด 2 หาง และชนิด 3 หาง
Foley catheter ชนิด 2 หาง
Foley catheter ชนิด 3 หาง
เครื่องใช้ในการสวนปัสสาวะ
อุปกรณ์เครี่องไช้ทุกชนิดที่ใช้กับผู้ป่วยจะต้องปลอดเชื้อประกอบด้วย
1. ขุดสวนปัสสาวะปลอดเชื้อ (sterile cathetenzatlon set) โดยทั่วไปจัดไว้ในถาดมีผ้าห่อเพื่อสะดวกต่อการหยิบใช้และสามารถคงสภาพปลอดเชื้อ ภายในประกอบด้วย ชามรูปไตใช้รองรับปัสสาวะที่สวนได้ , ปากคีบชนิดไม่มีเขี้ยว (non tooth forceps) ใช้หยิบจับสำลี ในการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกก่อนสวนปัสสาวะหรือจะเลือกใช้ถุงมือปลอดเชื้อแทนได้ , ก๊อช (ขนาด 2x2 นิ้ว) สำหรับใส่สารหล่อลื่นในการทาปลายสายสวนปัสสาวะ , ชามกลม 2 ใบ ใบหนึ่งใส่สำลี 6 – 8 ก้อน ใบว่างสำหรับใส่สำลีที่ใช้แล้ว , ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง ใข้คลุมบริเวณหน้าท้องถึงโคนขาของผู้ป่วย
2. สายสวนปัสสาวะ (catheter) เลือกขนาดให้เหมาะสมกับผ้ป่วย กำหนดตามวัยหริออายุ
3. น้ำยาระงับเชี้อ (Antlseptlc solutlon) สำหรับทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกก่อนสวนปัสสาวะ ช่วยลดจำนวนจุลินทรีย์บริเวณรอบรูเปิด ท่อปัสสาวะ ได้แก่ แซฟรอน (savlon) ความเข้มข้น 1: 100 หรืออาจจะเลือกใช้น้ำกลั่นแทนได้
4. สารหล่อลื่น (Lubrication) จะต้องเป็นชนิดละลายน้ำได้ (water soluble)ได้แก่ K-Y jelly xylocain jelly) จำนวนที่ใช้ในการหล่อลื่นจะต้องมากกว่า 5 มิลลิลิตร เพื่อให้มีความหล่อลึ่นสายทำให้สวนปัสสาวะได้ดี ไม่เกิดการเสียดสีหรือระคายเคืองต่อท่อปัสสาวะ อันจะทำให้เกิดการอักเสบและเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้
5. ฤงมือปลอดเชื้อ(sterile gloves) 1 คู่ บางแห่งใช้ 2 คู่ กรณีใช้ถุงมือแทนปากคีบ
6. ชุดชำระอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก (flushing set) และหม้อนอน (bed pan)
7. ไฟฉายหรีอโคมไฟ
8. ขวดเก็บปัสสาวะ กรณีต้องการเก็บปัสสาวะส่งตรวจ
9. กรณีที่สวนคาสายปัสสาวะ จะต้องเตรียมถังเก็บปัสสาวะ (urine bag) เป็นถุงพลาสติกใส ขนาด 2,000 มิลลิลิตร มีขีดบอกปริมาตรครั้งละ 50-100 มิลลิลิตร ถังเก็บปัสลาวะส่วนมากจะมีลิ้นกันการไหลย้อนกลับ (antirenm valve) ของปัสสาวะเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะถังเก็บปัสสาวะจะมีลายสำหรับแขวนไวกับข้างเตียง เก้าอี้ หรือ เครื่องช่วยเดินของผู้ป่วย
10. กระบอกฉีดยาปลอดเชื้อ (sterile syringe) บรรจุน้ำกลั่น ปริมาณตามที่ระบุไว้ที่ปลายสายสวนปัสสาวะ เช่น 5-10 มิลลิลิตร วางไว้ในภาชนะปลอดเชี้อ
11. ปลาสเตอร์ (plaster) สำหรับตรึงสายสวนปัสสาวะ
การสวนปัสสาวะะให้แก่ผู้ป่วยเพื่อระบายปัสสาวะออกจากกระเพาะปัสลาวะนั้น มีโอกาสทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้นได้ โดยเฉพาะการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ ดังนั้นควรยีตหลักสำคัญ ดังต่อไปนี้
1. อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงความจำเป็นในการสวนปัสสาวะ และวิธีการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยเพื่อลดความวิตกกังวล เพื่อช่วยให้การสวนปัสสาวะง่าย ไม่เกิดการบาดเจ็บชอกช้ำของเนี้อเยื่อดังนั้นการให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยจะช่วยลดโอกาสเกิดการติดเชื้อได้
2. เครื่องใช้ในการสวนปัสสาวะต้องสะอาดปราศจากเชื้อและเตรียมให้พร้อมสำหรับการใช้งานเพื่อความสะดวก
3. ล้างมือให้สะอาตก่อนและหลังการปฏิบัติเพื่อป้องกันการติดต่อและแพร่กระจาย เชื้อ
4. จัดท่าให้เหมาะสม ในผู้ป่วยชายจัดท่านอนหงาย (dorsal pomition) ส่วนผู้ป่วยหญิงนิยมจัดท่านอนหงายชันเข่า (Dorsal recumbent position) ผู้ป่วยหญิงที่มีปัญหาเกี่ยวกับสะโพกและเข่าไม่สามารถจัดให้สันเข่าได้ ควรจัดให้นอนท่าตะแคง (Lateral posltlon) โดยนอนหันหน้าไปด้านตรงข้ามพยาบาล บริเวณสะโพกชิดขอบเตียงด้านผู้ทำส่วนบริเวณศรีษะชิดขอบเตียงด้านตรงกันข้ามงอเข่าชิดอก ท่านี้จะต้องใช้มือแหวกกล้ามเนื้อสะโพกและแคมใน จึงจะเห็นรูเปิดท่อปัสสาวะได้ชัดเจน
5. ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและบริเวณรอบรูเปิดท่อปัสสาวะให้ สะอาดก่อนสวนปัสสาวะ
6. ปฏิบัติการอย่างมีขั้นตอน ผู้ทำควรมีความชำนาญในการสวนปัสสาวะอย่างถูกวิธีโดยให้เทคนิกปลอดเชื้อ (Aseptic techniques) ทุกขั้นตอนและ ระมัดระวังการปนเปื้อนขณะสอดสายสวนปัสสาวะ
7. มีแสงสว่างเพียงพอ โดยใช้ใฟตั้ง หรือไฟฉายส่องเพื่อให้สามารถมองเห็นรูเปิดท่อปัสสาวะและการใช้นิ้วมือข้างที่ถนัดแหวกแคมในให้กว้างและ ยกขึ้นจะเห็นรูปเปิดของท่อปัสสาวะได้ชัดเจน
8. กรณีที่สวนคาสายสวนปัสสาวะ ต้องตรวจสอบประสิทธิภาพของลูกโป่งของสายสวนปัสสาวะว่ามีการรั่วซึมหรือไม่ โดยก่อนใช้สวนปัสสาวะให้ใส่ น้ำกลั่นเข้าไปในลูกโป่งรวมทั้งจัดลูกโป่ง และปลายสายสวนปัสสาวะให้อยู่ในแนวตรง เพื่อลดการระคายเคืองบริเวณผนังของกระเพาะปัสลาวะภายหลังทำการทดสอบแล้วจึงดูดน้ำกลั่นออกจากลูกโป่ง ถ้าผู้ป่วยบ่นปวดภายหล้งใส่น้ำกลั่นเข้าไปในลูกโป่ง ใหรีบเอาน้ำกลั่นออก เนื่องจากลูกโป่ง อาจติดอยู่ในตำแหน่งของท่อปัสสาวะแล้วทำการสวนปัสสาวะด้วยสายสวนปัสสาวะเสันใหมประเมิผนู้ป่วยเกี่ยวกับภาวะเลือดออกบริเวณท่อปัสสาวะ
การสวนปัสสาวะ (Urinary catheterization)
ความหมาย
การสวนปัสสาวะ (Urinary catheterization) หมายถีง การสอดใส่สายสวนทีเรียกว่า catheter ผ่านทางท่อปัสสาวะเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะ เพื่อระบายปัสสาวะออกสู่ภายนอก ทำให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
การสวนปัสปัสสาวะมีอยู่ 2 แบบ
1. การสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว (intermittent catheterization) เป็นการสอดใส่สายสวนปัสสาวะผ่านทางท่อปัสสาวะเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ เพื่อระบายน้ำปัสสาวะออกจากกระเพาะปัสสาวะลงสู่ภาชนะเมื่อกระเพาะปัสสาวะว่างไม่มีน้ำปัสสาวะไหลออกมาจีงถอดสายสวนปัสสาวะออdกรณีนี้จะไม่คาสายปัสสาวะ โดยวิธีนี้จะใช้กับผู้ป่วยดังนี้
1. ผู้ป่วยที่ไม่สามารถปัสสาวะได้เองภายใน 6-8 ชั่วโมงหลังจากถ่ายปัสสาวะครั้งสุดท้าย เช่น ท่อปัสสาวะได้รับความกระทบกระเทีอนภายหลังผ่าตัด หลังคลอดบุตร ผลจากฤทธิ์ยาระงับความรู้สึกหรือยากดประสาท เป็นต้น
2. กรณีที่ผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะไม่ได้ เนื่องจากได้รับบาดเจ็บบริเวณไขสันหลัง
3. เพื่อเก็บปัสสาวะส่งตรวจเพื่อเพาะหาเชื้อ (urine culture) ในผู้ป่วยทีไม่สามารถถ่าปัสสาวะเองได้
4. เพื่อหาปริมาณของ resldual urine
2. การสวนคาสายสวนปัสสาวะ (indwelling catheterization or retained catheterlzatlon) เป็นการสอดใส่สายสวนปัสสาวะชนิด Foley catheter ผ่านทางท่อปัสสาวะเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ โดยกรณีนี้จะคาสายสวนปัสสาวะไว้
1. มีการอุดกั้นของท่อปัสสาวะ กรณีต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hypertrophy) ท่อปัสสาวะตีบแคบ (Urethral stricture)
2. ป้องกันการอุดกั้นของท่อปัสสาวะจากการมีก้อนลิ่มเลือดภายหลังผ่าตัดผ่านท่อปัสสาวะ (transurethral resection) หรือจากมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ (BIadder tumors)
3. เพื่อประเมินการทำงานของไต เช่น ผู้ป่วยในภาวะช็อกภายหลังได้รับอุบัติเหตุไฟไหม้ได้รับการผ่าตัดไม่รู้สึกตัว เป็นต้น
4. ผู้ป่วยที่กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ไม่รู้สึกตัว
5. เพื่อชะล้างกระเพาะปัสสาวะ (BIadder irrigation )
การเลือกใช้สายสวนปัสสาวะ
1. สายสวนปัสสาวะชนิดตรง(straigh catheter) ใช้สำหรับสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว
straigh catheter
2. สาย Foley catheter ใช้สำหรับสวนคาสายสวนปัสสาวะ มีอยู่ 2 ซนิดคือ Foley catheter ชนิด 2 หาง และชนิด 3 หาง
Foley catheter ชนิด 2 หาง
Foley catheter ชนิด 3 หาง
เครื่องใช้ในการสวนปัสสาวะ
อุปกรณ์เครี่องไช้ทุกชนิดที่ใช้กับผู้ป่วยจะต้องปลอดเชื้อประกอบด้วย
1. ขุดสวนปัสสาวะปลอดเชื้อ (sterile cathetenzatlon set) โดยทั่วไปจัดไว้ในถาดมีผ้าห่อเพื่อสะดวกต่อการหยิบใช้และสามารถคงสภาพปลอดเชื้อ ภายในประกอบด้วย ชามรูปไตใช้รองรับปัสสาวะที่สวนได้ , ปากคีบชนิดไม่มีเขี้ยว (non tooth forceps) ใช้หยิบจับสำลี ในการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกก่อนสวนปัสสาวะหรือจะเลือกใช้ถุงมือปลอดเชื้อแทนได้ , ก๊อช (ขนาด 2x2 นิ้ว) สำหรับใส่สารหล่อลื่นในการทาปลายสายสวนปัสสาวะ , ชามกลม 2 ใบ ใบหนึ่งใส่สำลี 6 – 8 ก้อน ใบว่างสำหรับใส่สำลีที่ใช้แล้ว , ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง ใข้คลุมบริเวณหน้าท้องถึงโคนขาของผู้ป่วย
2. สายสวนปัสสาวะ (catheter) เลือกขนาดให้เหมาะสมกับผ้ป่วย กำหนดตามวัยหริออายุ
3. น้ำยาระงับเชี้อ (Antlseptlc solutlon) สำหรับทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกก่อนสวนปัสสาวะ ช่วยลดจำนวนจุลินทรีย์บริเวณรอบรูเปิด ท่อปัสสาวะ ได้แก่ แซฟรอน (savlon) ความเข้มข้น 1: 100 หรืออาจจะเลือกใช้น้ำกลั่นแทนได้
4. สารหล่อลื่น (Lubrication) จะต้องเป็นชนิดละลายน้ำได้ (water soluble)ได้แก่ K-Y jelly xylocain jelly) จำนวนที่ใช้ในการหล่อลื่นจะต้องมากกว่า 5 มิลลิลิตร เพื่อให้มีความหล่อลึ่นสายทำให้สวนปัสสาวะได้ดี ไม่เกิดการเสียดสีหรือระคายเคืองต่อท่อปัสสาวะ อันจะทำให้เกิดการอักเสบและเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้
5. ฤงมือปลอดเชื้อ(sterile gloves) 1 คู่ บางแห่งใช้ 2 คู่ กรณีใช้ถุงมือแทนปากคีบ
6. ชุดชำระอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก (flushing set) และหม้อนอน (bed pan)
7. ไฟฉายหรีอโคมไฟ
8. ขวดเก็บปัสสาวะ กรณีต้องการเก็บปัสสาวะส่งตรวจ
9. กรณีที่สวนคาสายปัสสาวะ จะต้องเตรียมถังเก็บปัสสาวะ (urine bag) เป็นถุงพลาสติกใส ขนาด 2,000 มิลลิลิตร มีขีดบอกปริมาตรครั้งละ 50-100 มิลลิลิตร ถังเก็บปัสลาวะส่วนมากจะมีลิ้นกันการไหลย้อนกลับ (antirenm valve) ของปัสสาวะเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะถังเก็บปัสสาวะจะมีลายสำหรับแขวนไวกับข้างเตียง เก้าอี้ หรือ เครื่องช่วยเดินของผู้ป่วย
10. กระบอกฉีดยาปลอดเชื้อ (sterile syringe) บรรจุน้ำกลั่น ปริมาณตามที่ระบุไว้ที่ปลายสายสวนปัสสาวะ เช่น 5-10 มิลลิลิตร วางไว้ในภาชนะปลอดเชี้อ
11. ปลาสเตอร์ (plaster) สำหรับตรึงสายสวนปัสสาวะ
การสวนปัสสาวะะให้แก่ผู้ป่วยเพื่อระบายปัสสาวะออกจากกระเพาะปัสลาวะนั้น มีโอกาสทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้นได้ โดยเฉพาะการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ ดังนั้นควรยีตหลักสำคัญ ดังต่อไปนี้
1. อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงความจำเป็นในการสวนปัสสาวะ และวิธีการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยเพื่อลดความวิตกกังวล เพื่อช่วยให้การสวนปัสสาวะง่าย ไม่เกิดการบาดเจ็บชอกช้ำของเนี้อเยื่อดังนั้นการให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยจะช่วยลดโอกาสเกิดการติดเชื้อได้
2. เครื่องใช้ในการสวนปัสสาวะต้องสะอาดปราศจากเชื้อและเตรียมให้พร้อมสำหรับการใช้งานเพื่อความสะดวก
3. ล้างมือให้สะอาตก่อนและหลังการปฏิบัติเพื่อป้องกันการติดต่อและแพร่กระจาย เชื้อ
4. จัดท่าให้เหมาะสม ในผู้ป่วยชายจัดท่านอนหงาย (dorsal pomition) ส่วนผู้ป่วยหญิงนิยมจัดท่านอนหงายชันเข่า (Dorsal recumbent position) ผู้ป่วยหญิงที่มีปัญหาเกี่ยวกับสะโพกและเข่าไม่สามารถจัดให้สันเข่าได้ ควรจัดให้นอนท่าตะแคง (Lateral posltlon) โดยนอนหันหน้าไปด้านตรงข้ามพยาบาล บริเวณสะโพกชิดขอบเตียงด้านผู้ทำส่วนบริเวณศรีษะชิดขอบเตียงด้านตรงกันข้ามงอเข่าชิดอก ท่านี้จะต้องใช้มือแหวกกล้ามเนื้อสะโพกและแคมใน จึงจะเห็นรูเปิดท่อปัสสาวะได้ชัดเจน
5. ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและบริเวณรอบรูเปิดท่อปัสสาวะให้ สะอาดก่อนสวนปัสสาวะ
6. ปฏิบัติการอย่างมีขั้นตอน ผู้ทำควรมีความชำนาญในการสวนปัสสาวะอย่างถูกวิธีโดยให้เทคนิกปลอดเชื้อ (Aseptic techniques) ทุกขั้นตอนและ ระมัดระวังการปนเปื้อนขณะสอดสายสวนปัสสาวะ
7. มีแสงสว่างเพียงพอ โดยใช้ใฟตั้ง หรือไฟฉายส่องเพื่อให้สามารถมองเห็นรูเปิดท่อปัสสาวะและการใช้นิ้วมือข้างที่ถนัดแหวกแคมในให้กว้างและ ยกขึ้นจะเห็นรูปเปิดของท่อปัสสาวะได้ชัดเจน
8. กรณีที่สวนคาสายสวนปัสสาวะ ต้องตรวจสอบประสิทธิภาพของลูกโป่งของสายสวนปัสสาวะว่ามีการรั่วซึมหรือไม่ โดยก่อนใช้สวนปัสสาวะให้ใส่ น้ำกลั่นเข้าไปในลูกโป่งรวมทั้งจัดลูกโป่ง และปลายสายสวนปัสสาวะให้อยู่ในแนวตรง เพื่อลดการระคายเคืองบริเวณผนังของกระเพาะปัสลาวะภายหลังทำการทดสอบแล้วจึงดูดน้ำกลั่นออกจากลูกโป่ง ถ้าผู้ป่วยบ่นปวดภายหล้งใส่น้ำกลั่นเข้าไปในลูกโป่ง ใหรีบเอาน้ำกลั่นออก เนื่องจากลูกโป่ง อาจติดอยู่ในตำแหน่งของท่อปัสสาวะแล้วทำการสวนปัสสาวะด้วยสายสวนปัสสาวะเสันใหมประเมิผนู้ป่วยเกี่ยวกับภาวะเลือดออกบริเวณท่อปัสสาวะ