ทีนี้ หละงจากที่เพิ่งผ่านมือพลาโม X-Wing Starfighter ไปก่อนและก็ดองพลาโมชุดนี้ไปจนครบเดือนกว่าแล้ว ทีนี่ก็เพิ่งได้ลองต่อมาให้ดูกัน และที่เห็นก็คือ Freedom Gundam (MG) ที่มีการ Remake ใหม่จากของเดิมที่เป็น Ver. 1.0 ที่ออกไปเมื่อปี 2004 ซึ่งตัวนี้ก็ทีเด็ดซึ่งของเดิมยังไม่มี จนเป็น Gunpla (MG) ที่ขายดีข้ามเดือน ไปที่ไหน ก็หมดตลอด

(แบบว่าต้องรีบจัดก่อนที่จะโดนยึดไป

) จะเป็นไงบ้าง มาดูกันเลยดีกว่า ไม่ต้องพูดพร่ำเพร้อให้เสียเวลาแล้ว

Box Art หน้ากล่องก็ออกแบบใหม่ ให้เข้ากับยุคสมัยยิ่งขึ้น
สนนราคา อยู่ที่ 4,500 Yen ก็ประมาณ Gunpla MG สามัญ

ความหนา ก็หนาพอประมาณ ตามแบบ Gunpla ราคา 4,000 Yen ขึ้นไป

ข้างกล่องอีกข้าง ก็แสดงถึงส่วน Gimmick ที่ Freedom Gundam (MG Ver. 1.0) ไม่มี แต่ MG Ver. 2.0 มี

เปิดออกมา ก็เต็มกล่องใช้ได้เลยทีเดียว

จำนวนซองที่ห่อแผง มีอยู่ 9 ห่อด้วยกัน

จำนวนแผงที่ให้มา มีอยู่ 18 แผงด้วยกัน และเป็นแผงทำใหม่หมด และใช้หมด ไม่มีเหลือ แต่ที่แย่กว่านั้น คือแผงโครงในก็ใช้พลาสติก PS ที่เป็นพลาสติกนิ่ม จึงเสี่ยงหักได้ง่าย

มีแผง B, แผง C, แผง G และแผง J เป็นแผงเบิ้ล ตัวแผง G ก็มีรอยหมุนแม่พิมพ์ด้วย (คือว่าจะย้อมสินะ

)

สติกเกอร์ที่ให้มาทั้งหมด มีอยู่ 3 แบบ ดังนี้
1. สติกเกอร์เงา แผ่นเล็กมาก
2. Marking Seal แผ่นขนาดกลาง และ
3. Dry Decal แผ่นกลาง อย่างละ 1 แผ่น Dry Decal กลับมาแล้ว

แต่ที่หายไปนี่มันหมายความว่ายังง้ายยยยยยยย!!!!????

คู่มือการติด ใช้แบบ Pattern เดียวกับ Hyaku Shiki (MG Ver. 2.0)

สำหรับตัวฐานที่ให้มา เป็นฐานแบบโบราณคร่ำครึที่ออกไปเมื่อปี 2004 วิธีการต่อ ไม่ต้องดูคู่มือก็ต่อได้แล้ว แค่ทำไมถึงไม่ให้ฐานแบบเฉพาะตัวเหมือนของ Freedom Gundam (MG Ver. 1.0) ล่ะ

เอาเท่านี้เป็นน้ำจิ้มก่อน เดี๋ยสจะเอามาเพิ่มกันต่อไป
[CR] Review : ปีกแห่งอิสรภาพเพื่อการสูญพันธุ์ของสงคราม Freedom Gundam (MG Ver. 2.0)
Box Art หน้ากล่องก็ออกแบบใหม่ ให้เข้ากับยุคสมัยยิ่งขึ้น
สนนราคา อยู่ที่ 4,500 Yen ก็ประมาณ Gunpla MG สามัญ
ความหนา ก็หนาพอประมาณ ตามแบบ Gunpla ราคา 4,000 Yen ขึ้นไป
ข้างกล่องอีกข้าง ก็แสดงถึงส่วน Gimmick ที่ Freedom Gundam (MG Ver. 1.0) ไม่มี แต่ MG Ver. 2.0 มี
เปิดออกมา ก็เต็มกล่องใช้ได้เลยทีเดียว
จำนวนซองที่ห่อแผง มีอยู่ 9 ห่อด้วยกัน
จำนวนแผงที่ให้มา มีอยู่ 18 แผงด้วยกัน และเป็นแผงทำใหม่หมด และใช้หมด ไม่มีเหลือ แต่ที่แย่กว่านั้น คือแผงโครงในก็ใช้พลาสติก PS ที่เป็นพลาสติกนิ่ม จึงเสี่ยงหักได้ง่าย
มีแผง B, แผง C, แผง G และแผง J เป็นแผงเบิ้ล ตัวแผง G ก็มีรอยหมุนแม่พิมพ์ด้วย (คือว่าจะย้อมสินะ
สติกเกอร์ที่ให้มาทั้งหมด มีอยู่ 3 แบบ ดังนี้
1. สติกเกอร์เงา แผ่นเล็กมาก
2. Marking Seal แผ่นขนาดกลาง และ
3. Dry Decal แผ่นกลาง อย่างละ 1 แผ่น Dry Decal กลับมาแล้ว
คู่มือการติด ใช้แบบ Pattern เดียวกับ Hyaku Shiki (MG Ver. 2.0)
สำหรับตัวฐานที่ให้มา เป็นฐานแบบโบราณคร่ำครึที่ออกไปเมื่อปี 2004 วิธีการต่อ ไม่ต้องดูคู่มือก็ต่อได้แล้ว แค่ทำไมถึงไม่ให้ฐานแบบเฉพาะตัวเหมือนของ Freedom Gundam (MG Ver. 1.0) ล่ะ
เอาเท่านี้เป็นน้ำจิ้มก่อน เดี๋ยสจะเอามาเพิ่มกันต่อไป