กฏหมายที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 83 คือการระบุ สถานะของผู้ร่วมกระทำความผิด "ตัวการ"
มาตรา 84 อธิบายสถานะพวกรอบนอกที่คิดว่า กุรอดแล้ว ยุยงแล้วทำจริง แกก็กลายเป็น "ตัวการ" นะ รับโทษเท่ากับ 83
แต่ถ้า ยุยงแล้วไม่ทำ แกก็เป็นคนนอกที่รับโทษ 1/3 ของโทษในคดีนั้น
มาตรา 288 ฆ่าคน
*(3)
มาตรา 289 กรณีเพิ่มโทษต่างๆ ที่ศาลเห็นแล้วทนไม่ได้ หรือไม่ยอมให้ได้รับโทษสถานเบา หรือ ไม่ยอมให้มีการลดโทษ
"ผมนี่ยืนขี้นเลยครับ"
ประเด็นแรก เป็นบรรทัดฐาน การขยายความของการฆ่าโดยไตร่ตรอง ว่าเป็นแบบนี้ใช้ตัดสินมาแล้วนะ
*
แต่ไม่ละเอียดพอ อ่านแล้วคุณอาจจะงง
ประเด็นสอง กล่าวถึงพวกตัวการร่วม และสถานะของโทษที่จะได้รับ
1. คนคิดแล้วมาลงมือฆ่า โดนไตร่ตรอง 289
2. ตัวร่วมที่แยกกันคิด(นอนคิดอยู่บ้านใครบ้านมัน) แต่มาร่วมกันฆ่า โดนไตร่ตรอง 289
3. พวกที่มาแล้วลงมือฆ่า โดนแค่เจตนา
ประเด็นที่ 3
กล่าวถึงว่า
ไอ้พวกที่หลุดจากข้อหาไตร่ตรองเนี่ย ถ้ามันโดนแค่เจตนาแล้ว
พบหลักฐานว่ามัน
ทำสิ่งเหล่านี้ก็จะโดนมาตรา 289 ได้นะ
เช่น จากข้อ 3 ที่กล่าวถึงว่าไอ้พวกไม่ได้คิดแต่มาฆ่าเนี่ย โดนเจตนาฆ่านะ
แต่ถ้าแกเอา ไม้/มีด/ปืน หรืออาวุธอื่นๆมา แกก็จะโดนแจ้งมาตรา 289(ไตร่ตรอง) เช่นกัน
อธิบายลักษณะ ที่โดนพิพากษาว่า แบบไหนคือเจตนา(สีแดง) และ แบบไหนคือไตร่ตรอง(สีเขียว)
เพิ่มเติม
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ตามที่(ตร)ได้พูดออกทีวีที่พูดถึงเนื้อความ "บทสนทนา" ของแก๊งวัยรุ่นนั้นโม้ไปยาวมาก
*พบว่าการกล่าวอ้าง แสดงเจตจำนงค์ ว่าคุณจะแค่มาทำร้าย หรือ มาช่วยเพื่อน นั่น ไม่มีน้ำหนักเลย
เพราะว่าผลท้ายสุดคุณได้ใช้เวลาในการฆ่าเช่นเดียวกัน คือ มีทั้งการไตร่ตรอง ณ สถานที่อื่นแล้วว่าจะมาทำร้าย
และแสดงให้เห็นโดยพฤติกรรมแล้วว่าเข้าทำร้ายจริงๆจนถึงแก่ความตาย
ทำให้ไม่สามารถอ้างเลยว่า พูดกับใครไว้อย่างไร เนื่องจากเทปวีดีโอ มีข้อมูลครบละเอียดมาก
พี่บิ๊กเราพยายามจำพูดออกสื่อโดยบิดเบือนสถานการณ์จริง และปิดกั้นขอบเขคของกฏหมายโกหกออกทีวีซึ่งๆหน้า
ช่วยเพื่อนจากคนพิการ ขาเป็นโปลีโอ แค่วิ่งหนีก็วิ่งไม่ทันแล้ว (ตร)อ้างได้แย่มาก
*กรณีผู้ต้องหาคนเดียว *การเจตนาฆ่า รูปคดีจะเป็นแบบปัจจุบันทันด่วนเท่านั้น
ไม่พอใจฆ่าเลยหวดทันที ทำร้าย(มือเปล่าหรืออาวุธก็ได้)ทันที
>การลดหย่อนโทษ จะพูดถึงว่าถ้ามูลเหตุนั้นผู้ตายเริ่มก่อน เป็นคนสร้างความโกรธแค้นจะลดโทษให้
ศาลจะเอามาพูดในช่วงท้ายว่าลดได้เท่าไหร่
ส่วนไตร่ตรอง (ข้อใดข้อนึงก็แจ้งข้อหา ฆ่าโดยไตรตรองได้แล้ครับ)
-มีเวลายั้งคิดตัดสินใจ
-*(1)เตรียมอาวุธ
-เตรียมการ ...รูปแบบเข้าข่ายจะเลือกว่าเป็นเตรียมการคือวางแผนล่วงหน้า เช่นคดีคุณ เอ็กซ์ จักรกฤษณ์ ถูกลอบสังหาร
*การเตรียมการเป็นความเข้าใจง่ายที่สุดกับประชาชนที่ไม่รู้กฏหมายเพราะ เห็นภาพได้ง่าย
เนื่องจากในข้อกฏหมาย ไม่ระบุชัดเจน จึงนำคดีอื่นๆที่ศาลได้ตั้งเป็นบรรทัดฐานมาไว้แล้ว
กล่าวถึง
ขอบเขตงานศาลว่า จริงๆแล้วทำอะไรได้บ้าง และพบว่า
มีหน้าที่ตัดสินแค่ในสิ่งที่อัยการฟ้องเท่านั้น
ถ้าพนักงานสืบสวนไม่ตั้งข้อหามาเป็นอัตราโทษสูงสุด และมาตราที่สามารถแจ้งได้
ศาลก็ไม่มีสิทธิไปเพิ่มโทษ หรือการกล่าวถึงมาตราอื่นๆที่อัยการไม่ได้ยื่นฟ้อง
ก็คือการปิดปากศาลและทนายโจทย์ไปโดยปริยาย
*เพราะว่าอัตราโทษร้ายแรงนั่นได้แยกไปในมาตรา 289 หมดแล้ว
*หากพนักงานสอบสวน ตั้งข้อหาและให้อัยการฟ้องแค่ 288 (ฆ่า)
เมื่ออยู๋ในศาล ก็จะมีเรื่องให้พูดแค่ลดหย่อนโทษเท่านั้น เพราะจะเพิ่มการ
*(1)เตรียมอาวุธไม่ได้เนื่องจาก พนักงานสอบสวนไม่ได้ตั้งข้อหา 289(4)ไตร่ตรอง
*ตร.ใช้ความไม่ชัดเจนของกฏหมายเพื่อกลบกระแสข่าว เขาโกหกว่า
-288 289 อันเดียวกัน
-ไปครั้งแรกวัยรุ่นไปมือเปล่า (ครั้งแรกมีมีดด้วย พยานร้านขนมปังบอกแล้ว)
-โกหกว่าการไตรตรองคือการเตรียมการรูปคดีคล้ายของ คุณ เอ็กซ์ จักรกฤษณ์ เท่านั้น
โคตรแย่ครับ
*แต่จริงๆแล้วคดีเช่นนี้ศาลได้วาง*(2)บรรทัดฐาน ไว้หมดแล้วเพียงแค่ศาลเข้ามายุ่งในนี้ไม่ได้
-----------------------------------------------------------------------------------------------------
*(1)เตรียมอาวุธ คือหลักฐานที่เด่นชัดเพื่อตีความไปว่ามีการเตรียมการ (การนัดแนะก็เช่นกัน)
*(2)บรรทัดฐาน จะมาจากคดีที่กฏมหายไม่ได้เขียนระบุชัดเจน ผู้พิพากษาจะบอกว่ามันเป็นคดีใหม่นะ
ถึงแกจะอนู่ในคดีแบบนี้ แกไม่สามารถรับโทษในอัตราทั่วไปได้นะ เดี๋ยวจะสำเร็จโทษใหม่ให้เอง
นี่คือบรรทัดฐานใหม่ที่เกิดขึ้นและ ทนายสามารถนำมาให้ศาลพิจารณาในฐานเดียวกันกับคดีที่เคยตัดสินไปได้
*(3)มาตรา 289 ศาลไม่สามารถอ้างถึงได้หาก พนักงานสืบสวนไม่ตั้งข้อหา ถึงแม้ว่าพบเจอกรณีใดๆก็ตามที่เป็น 289 แต่ก็จะแจ้งไม่ได้
หวังว่าทุกท่านคงได้ความรู้ไม่มากก็น้อย
ว่าด้วยเรื่องการฆ่าโดยไตร่ตรองไว้ก่อน แบ่งเป็น 3 ประเด็นใหญ่ มาดูกันว่าทำไมคดีดังถึงพยายามจะหลบมาตรา 289 ?
มาตรา 83 คือการระบุ สถานะของผู้ร่วมกระทำความผิด "ตัวการ"
มาตรา 84 อธิบายสถานะพวกรอบนอกที่คิดว่า กุรอดแล้ว ยุยงแล้วทำจริง แกก็กลายเป็น "ตัวการ" นะ รับโทษเท่ากับ 83
แต่ถ้า ยุยงแล้วไม่ทำ แกก็เป็นคนนอกที่รับโทษ 1/3 ของโทษในคดีนั้น
มาตรา 288 ฆ่าคน
*(3)มาตรา 289 กรณีเพิ่มโทษต่างๆ ที่ศาลเห็นแล้วทนไม่ได้ หรือไม่ยอมให้ได้รับโทษสถานเบา หรือ ไม่ยอมให้มีการลดโทษ
"ผมนี่ยืนขี้นเลยครับ"
ประเด็นแรก เป็นบรรทัดฐาน การขยายความของการฆ่าโดยไตร่ตรอง ว่าเป็นแบบนี้ใช้ตัดสินมาแล้วนะ
*แต่ไม่ละเอียดพอ อ่านแล้วคุณอาจจะงง
ประเด็นสอง กล่าวถึงพวกตัวการร่วม และสถานะของโทษที่จะได้รับ
1. คนคิดแล้วมาลงมือฆ่า โดนไตร่ตรอง 289
2. ตัวร่วมที่แยกกันคิด(นอนคิดอยู่บ้านใครบ้านมัน) แต่มาร่วมกันฆ่า โดนไตร่ตรอง 289
3. พวกที่มาแล้วลงมือฆ่า โดนแค่เจตนา
ประเด็นที่ 3
กล่าวถึงว่า ไอ้พวกที่หลุดจากข้อหาไตร่ตรองเนี่ย ถ้ามันโดนแค่เจตนาแล้ว
พบหลักฐานว่ามันทำสิ่งเหล่านี้ก็จะโดนมาตรา 289 ได้นะ
เช่น จากข้อ 3 ที่กล่าวถึงว่าไอ้พวกไม่ได้คิดแต่มาฆ่าเนี่ย โดนเจตนาฆ่านะ
แต่ถ้าแกเอา ไม้/มีด/ปืน หรืออาวุธอื่นๆมา แกก็จะโดนแจ้งมาตรา 289(ไตร่ตรอง) เช่นกัน
อธิบายลักษณะ ที่โดนพิพากษาว่า แบบไหนคือเจตนา(สีแดง) และ แบบไหนคือไตร่ตรอง(สีเขียว)
เพิ่มเติม
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
เนื่องจากในข้อกฏหมาย ไม่ระบุชัดเจน จึงนำคดีอื่นๆที่ศาลได้ตั้งเป็นบรรทัดฐานมาไว้แล้ว
กล่าวถึงขอบเขตงานศาลว่า จริงๆแล้วทำอะไรได้บ้าง และพบว่ามีหน้าที่ตัดสินแค่ในสิ่งที่อัยการฟ้องเท่านั้น
ถ้าพนักงานสืบสวนไม่ตั้งข้อหามาเป็นอัตราโทษสูงสุด และมาตราที่สามารถแจ้งได้
ศาลก็ไม่มีสิทธิไปเพิ่มโทษ หรือการกล่าวถึงมาตราอื่นๆที่อัยการไม่ได้ยื่นฟ้อง
ก็คือการปิดปากศาลและทนายโจทย์ไปโดยปริยาย
*เพราะว่าอัตราโทษร้ายแรงนั่นได้แยกไปในมาตรา 289 หมดแล้ว
*หากพนักงานสอบสวน ตั้งข้อหาและให้อัยการฟ้องแค่ 288 (ฆ่า)
เมื่ออยู๋ในศาล ก็จะมีเรื่องให้พูดแค่ลดหย่อนโทษเท่านั้น เพราะจะเพิ่มการ
*(1)เตรียมอาวุธไม่ได้เนื่องจาก พนักงานสอบสวนไม่ได้ตั้งข้อหา 289(4)ไตร่ตรอง
*ตร.ใช้ความไม่ชัดเจนของกฏหมายเพื่อกลบกระแสข่าว เขาโกหกว่า
-288 289 อันเดียวกัน
-ไปครั้งแรกวัยรุ่นไปมือเปล่า (ครั้งแรกมีมีดด้วย พยานร้านขนมปังบอกแล้ว)
-โกหกว่าการไตรตรองคือการเตรียมการรูปคดีคล้ายของ คุณ เอ็กซ์ จักรกฤษณ์ เท่านั้น
โคตรแย่ครับ
*แต่จริงๆแล้วคดีเช่นนี้ศาลได้วาง*(2)บรรทัดฐาน ไว้หมดแล้วเพียงแค่ศาลเข้ามายุ่งในนี้ไม่ได้
-----------------------------------------------------------------------------------------------------
*(1)เตรียมอาวุธ คือหลักฐานที่เด่นชัดเพื่อตีความไปว่ามีการเตรียมการ (การนัดแนะก็เช่นกัน)
*(2)บรรทัดฐาน จะมาจากคดีที่กฏมหายไม่ได้เขียนระบุชัดเจน ผู้พิพากษาจะบอกว่ามันเป็นคดีใหม่นะ
ถึงแกจะอนู่ในคดีแบบนี้ แกไม่สามารถรับโทษในอัตราทั่วไปได้นะ เดี๋ยวจะสำเร็จโทษใหม่ให้เอง
นี่คือบรรทัดฐานใหม่ที่เกิดขึ้นและ ทนายสามารถนำมาให้ศาลพิจารณาในฐานเดียวกันกับคดีที่เคยตัดสินไปได้
*(3)มาตรา 289 ศาลไม่สามารถอ้างถึงได้หาก พนักงานสืบสวนไม่ตั้งข้อหา ถึงแม้ว่าพบเจอกรณีใดๆก็ตามที่เป็น 289 แต่ก็จะแจ้งไม่ได้
หวังว่าทุกท่านคงได้ความรู้ไม่มากก็น้อย