ความนิยมกีฬาตะกร้อในต่างประเทศ ไม่ใช่เรื่องเล็กๆ อีกต่อไป

กระทู้ข่าว
คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ

คนต่างชาติเริ่มพูดถึงกีฬาที่เรียกว่า "ตะกร้อ" ซึ่งได้ขนานนามว่า เป็น "Martial arts" แห่งกีฬาลูกบอล
เพราะว่าลักษณะการเล่นที่คล้ายวอลเล่ย์บอล ฟุตบอล กังฟู มีการเคลื่อนไหวบนแรงโน้มถ่วงของโลกที่น่าทึ่งมากๆ
และเป็นกีฬาที่นิยมกันมากใน SEA และขยายต่อไปยังประเทศในเอเชียมากขึ้นเรื่อยๆ เช่น ญี่ปุ่น และ เกาหลีใต้
แม้แต่ในประเทศเยอรมัน และ อเมริกา ก็ยังมีการจัดทีมส่งแข่งขันเช่นกัน




การเติบโตของตะกร้อในอเมริกา

คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ

คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ

ตะกร้อในออสเตรเลีย

คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ

คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ

สื่อเกาหลีใต้พูดถึงกีฬาตะกร้อ

คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ

การฝึกซ้อมของเกาหลีใต้

คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ

คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ

การแข่งขันตะกร้อภายในประเทศเกาหลีใต้

คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ

การแข่งขันตะกร้อภายในประเทศญี่ปุ่น

คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ

คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ

เส้นทางการพัฒนาตะกร้อของญี่ปุ่น

คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ



หากญี่ปุ่นเคยบอกว่า "ฟุตบอลไทยจะกลายเป็นคู่แข่งที่น่ากลัวในระดับเอเชีย"
ทางไทยก็ต้องเตรียมเจอ "ตะกร้อญี่ปุ่นจะกลายเป็นคู่แข่งที่น่ากลัวในระดับเอเชียเช่นกัน"
เพราะคุณรู้หรือไม่ว่า "ประเทศญี่ปุ่น" มีการจัดการแข่งขัน National tournaments ที่มี 17 ทีม ร่วมแข่งขันทุกปี
และญี่ปุ่นกำลังจะกลายเป็น "ดาวรุ่งแห่งวงการตะกร้อ" ในอนาคตข้างหน้านี้ ที่สำคัญระดับมาตรฐานแบบญี่ปุ่น "งานนี้เอาจริงแน่"


"ตะกร้อ มันเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ในการต่อสู้กับแรงดึงดูดเพื่อเข้าโจมตีใส่กัน"


การจัดแข่งขันในต่างประเทศ Takraw Swiss Open 2016



ที่มา https://www.facebook.com/ISTAFSuperSeries/?fref=nf, https://www.facebook.com/kelu.sepaktakraw/?fref=nf


วงการตะกร้อไทยอย่านิ่งนอนใจว่าเราเป็นระดับต้นๆ ของกีฬาชนิดนี้ (ตัวอย่างจากกีฬาชนิดอื่นในอดีตมีให้เห็น)
ถ้าไม่รีบเตรียมตัวพัฒนาระบบ League, สร้างเยาวชนรุ่นใหม่, ร่วมมือกับภาครัฐ เอกชน และ ธุรกิจ
เพื่อเพิ่มมูลค่าและสามารถสร้างอาชีพ สร้างรายได้ เพื่อให้ประชาชนหันมาเล่นกีฬาตะกร้อกันมากขึ้น
ไม่เช่นนั้น เราอาจได้เสียใจ ที่ถูกประเทศอื่นๆ แซงหน้า และพัฒนาไปได้ดีกว่าเรา
แก้ไขข้อความเมื่อ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่