คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 7
สการ์เล็ต โอเวอร์คิล ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 2925949 ถูกใจ, วิหคน้ำเค็ม ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 960957 ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 2960917 ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 3055202 ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 2877186 ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 3079772 ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 2848779 ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 2254130 ถูกใจรวมถึงอีก 1 คน ร่วมแสดงความรู้สึก
▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼
แสดงความคิดเห็น
คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ
วันนี้ขอแนะนำตรรกศาสตร์เบื้องต้นชั้น ม.4 แด่คุณข้าง
ประโยคเปิด = ประโยคบอกเล่าที่มีตัวแปรซึ่งสามารถเป็น "จริง" หรือ "เท็จ" ตามตัวบ่งปริมาณ หรือตามตัวแปรที่ใส่ลงไป
เอกภพสัมพัทธ์ = ขอบเขตที่เราสนใจ
.............................................................................................................................
สถานการณ์สมมติ : มีคนสองคนพนันกันดังนี้
นาย A: ถ้าใครแพ้ต้องบริจาคเงินให้อาหารหมา
นาย B: ถ้าใครแพ้ต้องบริจาคเงินเพื่อการกุศล
รูปแบบของประโยคดังกล่าวมีตัวแปรคือ "ใคร" ซึ่งสามารถแทนค่าได้จากเอกภพสัมพัทธ์ ={ A, B}
และอยู่ในรูป p ---> q
โดยที่ p แทนข้อความ "ใครแพ้"
q แทนข้อความ "ใครบริจาคเงินให้อาหารหมา" หรือ "ใครบริจาคเงินเพื่อการกุศล"
ซึ่งจะมีค่าความจริงเป็นเท็จกรณีเดียวเท่านั้นคือ จริง ---> เท็จ
ทีนี้มาดูสิ่งที่เกิดขึ้นกันครับ เมื่อนาย B แพ้ นาย B ไม่ได้บริจาคค่าอาหารหมา และไม่ได้บริจาคเงินเพื่อการกุศล ทำให้ p มีค่าความจริงเป็นจริง
และ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนี้แล้ว
p ---> q จึงมีค่าความจริงเป็น "เท็จ"
ไม่ว่าคุณข้างจะยกตัวอย่างมาแถแทนนาย B เยี่ยงไร คุณข้างก็ปฏิเสธหลักตรรกศาสตร์อันเป็นหลักสากลของโลกใบนี้ไม่ได้ดอกครับ
หรือที่พยายามแถแทนนาย B นี่คือแค่อยากให้เค้าเปลี่ยนจาก "คนโกงข้าวหมา" เป็น "คนขี้โกง" ดีครับ