เครดิตภาพปอ :
http://www.secret-thai.com/article/2977/por-tid/
บทกลอนที่ประกอบภาพมาจากเรื่อง กฤษณาสอนน้องคำฉันท์ พระนิพนธ์โดย สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ ๗ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งความหมายของบทกลอนนั้นก็คือ วัว ควาย หรือช้าง เมื่อมันตายไปแล้ว ก็เหลือแต่กระดูก ฟัน หรือเขาเอาไว้ แต่ในขณะที่คนเรานั้น เมื่อตายไปแล้ว ร่างกายก็สลายหายไป คงเหลือไว้แต่ความชั่วหรือความดีที่จะยังคงอยู่ในโลกต่อไป ก็เหมือนกับปอ-ทฤษฎีที่ถึงแม้จะเสียชีวิตไปแล้ว แต่ผลงานที่สร้างไว้ ไม่ว่าจะเป็นละครหรืออะไรก็ยังคงอยู่ ที่สำคัญที่สุดก็คือความดีทั้งหลายที่เขาได้ทำไว้ ก็จะยังคงอยู่ตลอดไป...
บทกลอนจากเรื่องกฤษณาสอนน้องคำฉันท์ ตรงกับ "ปอ-ทฤษฎี" มาก ๆ
เครดิตภาพปอ : http://www.secret-thai.com/article/2977/por-tid/
บทกลอนที่ประกอบภาพมาจากเรื่อง กฤษณาสอนน้องคำฉันท์ พระนิพนธ์โดย สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ ๗ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งความหมายของบทกลอนนั้นก็คือ วัว ควาย หรือช้าง เมื่อมันตายไปแล้ว ก็เหลือแต่กระดูก ฟัน หรือเขาเอาไว้ แต่ในขณะที่คนเรานั้น เมื่อตายไปแล้ว ร่างกายก็สลายหายไป คงเหลือไว้แต่ความชั่วหรือความดีที่จะยังคงอยู่ในโลกต่อไป ก็เหมือนกับปอ-ทฤษฎีที่ถึงแม้จะเสียชีวิตไปแล้ว แต่ผลงานที่สร้างไว้ ไม่ว่าจะเป็นละครหรืออะไรก็ยังคงอยู่ ที่สำคัญที่สุดก็คือความดีทั้งหลายที่เขาได้ทำไว้ ก็จะยังคงอยู่ตลอดไป...