สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 6
ดวงอาทิตย์ ก้อนนิวเคลียร์ฟิวชั่นขนาดยักษ์ ใจกลางระบบสุริยะ ในช่วงแรกๆของการรวมกันของกลุ่มแก๊สนั้น
ยังไม่เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิวชั่นในทันที จนถึงเมื่อมวลของแก๊ซ มีมากพอที่จะทำให้อุณหภูมิ ณ ใจกลาง
ของลูกบอลแก๊ซขนาดยักษ์(หลักสิบล้านองศาเซลเซียสขึ้นไป)จุดระเบิดนิวเคลียร์ฟิวชั่น (และยังดำเนินมาถึงปัจจุบันนี้)
เรามารู้จักไอโซโทปของไฮโดรเจนกันก่อนตามรูปด้านล่าง
ซึ่งปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่นจะเริ่มจาก 1.)อะตอมHydrogen หลอมตัวกันเป็น Deuterium
จากนั้น 2.)Deuterium จะหลอมรวมกับ อะตอมHydrogen กลายเป็น Tritium (ซึ่ง ทั้ง Deuterium
และ Tritium คือ ไฮโดรเจนมวลหนัก) 3.) Tritium รวมตัวกับ Tritium ได้เป็น Helium และ Hydrogen
ซึ่ง ทั้งสามขั้นตอนนั้น ผลผลิตไม่ใช่เพียงไฮโดรเจนมวลหนักเท่านั้น แต่มีทั้ง Positron, Neutrino
รังสี Gamma โดยดวงอาทิตย์ให้เผาผลาญ(ไม่ค่อยอยากเรียกว่าเผา เรียกเป็น convert จะดีกว่า)
มวลทุกๆวินาทีในปฏิกิริยานิเคลียร์ฟิวชั่นคิดเป็น 4 ล้านตันต่อวินาที และสูญเสียมวลจากการปลดปล่อยลมสุริยะ
1.5 ล้านตันต่อวินาที รวมเป็น 5.5 ล้านตันต่อวินาที หรือ 174 ล้านล้านตันต่อปี ได้พลังงานออกมา
3.846×10^26 W ต่อวินาที(หรือ 1.21x10^34 W ต่อปี)
ซึ่งหากถามว่า ดวงอาทิตย์สูญเสียมวลหรือไม่ตั้งแต่กำเนิดจนถึงปัจจุบัน จากอายุของดวงอาทิตย์ ที่ประเมินกันคือ
4.6 พันล้านปี ก็ต้องตอบว่า สูญเสียมวกออกไปบ้าง แต่น้อย เมื่อเทียบกับมวลของดวงอาทิตย์เอง
ซึ่งตอนนี้ดวงอาทิตย์สูญเสียมวลไปแล้ว 8x10^23 ตัน เทียบกับมวลดวงอาทิตย์ 1.9891x10^27 ตัน ซึ่งมวกที่เสียไป
คิดเป็น 0.04% ของมวลดวงอาทิตย์
และหากถามว่า รอบๆดวงอาทิตย์ตอนนี้มี Oxigen หรือ ไม่ ซึ่ง ณ ตอนนี้ เชื้อเพลิงหลักของดวงอาทิตย์คือ Hydrogen และ ผลิตภัณฑ์
หลักๆ ของมัน คือ Helium ซึ่ง ณ ตอนนี้ ดวงอาทิตย์กำลังอยู่ในวัยกลางคน ดังนั้น จะยังไม่มีการเกิดธาตุที่หนักกว่า Helium อย่าง Oxygen
ดวงอาทิตย์ ก้อนนิวเคลียร์ฟิวชั่นขนาดยักษ์ ใจกลางระบบสุริยะ ในช่วงแรกๆของการรวมกันของกลุ่มแก๊สนั้น
ยังไม่เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิวชั่นในทันที จนถึงเมื่อมวลของแก๊ซ มีมากพอที่จะทำให้อุณหภูมิ ณ ใจกลาง
ของลูกบอลแก๊ซขนาดยักษ์(หลักสิบล้านองศาเซลเซียสขึ้นไป)จุดระเบิดนิวเคลียร์ฟิวชั่น (และยังดำเนินมาถึงปัจจุบันนี้)
เรามารู้จักไอโซโทปของไฮโดรเจนกันก่อนตามรูปด้านล่าง
ซึ่งปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่นจะเริ่มจาก 1.)อะตอมHydrogen หลอมตัวกันเป็น Deuterium
จากนั้น 2.)Deuterium จะหลอมรวมกับ อะตอมHydrogen กลายเป็น Tritium (ซึ่ง ทั้ง Deuterium
และ Tritium คือ ไฮโดรเจนมวลหนัก) 3.) Tritium รวมตัวกับ Tritium ได้เป็น Helium และ Hydrogen
ซึ่ง ทั้งสามขั้นตอนนั้น ผลผลิตไม่ใช่เพียงไฮโดรเจนมวลหนักเท่านั้น แต่มีทั้ง Positron, Neutrino
รังสี Gamma โดยดวงอาทิตย์ให้เผาผลาญ(ไม่ค่อยอยากเรียกว่าเผา เรียกเป็น convert จะดีกว่า)
มวลทุกๆวินาทีในปฏิกิริยานิเคลียร์ฟิวชั่นคิดเป็น 4 ล้านตันต่อวินาที และสูญเสียมวลจากการปลดปล่อยลมสุริยะ
1.5 ล้านตันต่อวินาที รวมเป็น 5.5 ล้านตันต่อวินาที หรือ 174 ล้านล้านตันต่อปี ได้พลังงานออกมา
3.846×10^26 W ต่อวินาที(หรือ 1.21x10^34 W ต่อปี)
ซึ่งหากถามว่า ดวงอาทิตย์สูญเสียมวลหรือไม่ตั้งแต่กำเนิดจนถึงปัจจุบัน จากอายุของดวงอาทิตย์ ที่ประเมินกันคือ
4.6 พันล้านปี ก็ต้องตอบว่า สูญเสียมวกออกไปบ้าง แต่น้อย เมื่อเทียบกับมวลของดวงอาทิตย์เอง
ซึ่งตอนนี้ดวงอาทิตย์สูญเสียมวลไปแล้ว 8x10^23 ตัน เทียบกับมวลดวงอาทิตย์ 1.9891x10^27 ตัน ซึ่งมวกที่เสียไป
คิดเป็น 0.04% ของมวลดวงอาทิตย์
และหากถามว่า รอบๆดวงอาทิตย์ตอนนี้มี Oxigen หรือ ไม่ ซึ่ง ณ ตอนนี้ เชื้อเพลิงหลักของดวงอาทิตย์คือ Hydrogen และ ผลิตภัณฑ์
หลักๆ ของมัน คือ Helium ซึ่ง ณ ตอนนี้ ดวงอาทิตย์กำลังอยู่ในวัยกลางคน ดังนั้น จะยังไม่มีการเกิดธาตุที่หนักกว่า Helium อย่าง Oxygen
แสดงความคิดเห็น
ดวงอาทิตย์หรือรอบๆดวงอาทิตย์มีออกซิเจนหรือไม่
ซึ่งสำหรับดวงอาทิตย์ที่เผาไหม้อยู่ตลอดเวลาอยู่นั้นมีออกซิเจนประมาณเท่าไหร่ครับหรือว่าไม่มีเลยย??แล้ว
ถ้าหากเกิดจากนิวเคลียสของอะตอมชนกันจนเกิดนิวเคลียร์ฟิวชั่นนั้น ต้องมีออกซิเจนเป็นตัวกลางหรือไม่ครับ