ระบบการพัฒนาเยาวชน
JFA (สมาคมฟุตบอลญี่ปุ่น)มีกฏให้ทีมในดิวิชัน 1 และ2 ต้องมีอะคาเดมี่ของตังเองมีทัวนาเมนต์ระดับเยาวชนมากมายได้ลงเล่น
อย่างเช่น Prince Takamado Cup U15 U18 ,All Japan High School Soccer Tournament ระบบสร้างเยาวชนเค้าไม่ได้เน้นแค่
อะคาเดมี่สโมสรอาชีพแต่ยังครอบคลุ่มไปถึง
ฟุตบอลโรงเรียนด้วยเพราะจะเข้าถึงเด็กกลุ่มใหญ่มากกว่ามีนักเตะทีมชาติ
หลายๆคนแจ้งเกิดจากฟุตบอลไฮสคูลอย่างซูซูกิลูกครึ่งผิวสีคนแรกที่ยิงประตูเราเมื่อวันก่อนก็เริ่มจากฟุตบอลมัธยมจนติดทีมชาติ
นอกจากนี้ยังมีการสร้างอะคาเดมี่ของสมาคมทั่วประเทศเป็นต้นแบบให้สโมสรใหม่ๆผลิตทั้งนักเตะเยาวชนชายหญิง และโคชทำให้
ระบบรูปแบบการเล่นพัฒนาไปในทิศทางเดียวกัน
ของเราเริ่มมีลีกเยาวชนแล้วแต่ยังไม่เต็มรูปแบบและฟุตบอลระดับโรงเรียนก็ยังขาดการจัดการและระบบต่อยอดแบบเค้า
มูลค่าลีกฟุตบอลในประเทศ
หลายๆคนคิดว่าฟุตบอลลีกของเราใกล้จะเทียบเคียงเค้าได้แต่ในความเป็นจริงตลอดเวลา 4 ปีในเวทีสโมสรเอเชีย3ทีมที่ดีที่สุด
ของเรา เมืองทอง ชลบุรี บุรีรัมย์ ชนะเค้าได้แค่ครั้งที่เจอกันทุกเกม และทีมที่เจอส่วนมาก
ก็ไม่ใช่ทีมที่ดีที่สุด
ที่เพราะอะไรจะให้ดู มูลค่าฟุตบอลภายในของเค้าสูงและเติบโตมากมาก มากจนฟุตบอลสโมสรเอเชียลดความสำคัญ
ไปให้นึกถึงฟุตบอล ยูโรป้าลีก ที่ทำเงินให้สโมสรจากทีมที่มากจากภาคพื้นยุโรปแต่เป็นถ้วยที่ไม่มีประโยชน์สำหรับทีมจากอังกฤษรายได้เจลีก
ดิวิชัน 1 ปี2013 สูงถึง 404 ล้านยูโร แบ่งได้ทีมละ 22.4ล้านยูโร(ประมาณ900ล้านบาท)และรายได้อื่นๆสินค้าที่ระลึกลิขสิทธ์ค่า
ภาพลักษณ์ค่าตั๋ว(แพงกว่าACL)ก็สูงมากตามกำลังซื้อของคนญี่ปุ่น ส่วนฟุตบอลสโมสรเอเชียทีมถ้าแข่งจนได้แชมป์จะได้รางวัล
1,560,000 US$ รวมค่าเดินทางค่าสนับสนุนต่างถ้าแข่งจนได้แชมป์จะได้ 2.25ล้านUS$แถมเตะกลางสัปดาห์ทำให้รายได้อื่นๆ
น้อยลงมากทำให้ทีมเจลีกโรเตชันตัวผู้เล่นเยอะมาก นี่พอจะตอบคำถามได้ว่าทำไมทีมสโมสรจากญี่ปุ่นถึงมักจะแพ้ทีมจากเคลีก
และไชนิสซุปเปอร์ลีกตกรอบแรกมาหลายๆปีติด
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_professional_sports_leagues_by_revenue#cite_note-jleague2013-15
เทียบกับรายได้ TPL มูลค่าลีกเราพัฒนามาไกลมากรายได้ค่าสนับสนุนและลิขสิทธิ์ถ่ายทอดสดได้จากTPlมากถึงทีมละ 30ลในปีนี้ และราวัลชนะเลิศสามถ้วยทีพีแอลลีกคัพเอฟเอคัฟจะทำให้ได้รับเงินอุดหนุนและเงิน
รางวัลทั้งสิ้น 41 ล้านบาทและไม่นับค่าสปอนเซอร์และรายได้อื่นๆ แต่ก็ยังมีปัญหา บางทีมหางบมาอุดหนุนทีมไม่ได้ และหลายๆทีมก็ยังขาดทุนอยู่ อาจมีปัญหาในอนาคตควรมีการวางกฎการเงินให้เข้มงวดป้องกันฟองสบู่แตกในอนาคต ถ้าการเงินมั่นคงการพัฒนาอื่นๆก็จะตามมา นี่เป็นแนวทางกฎระเบียบที่ JFA ใช้ควบคุมคุณภาพทีมที่เข้าร่วมป้องกันปัญหาการเงินและฟองสบู่ที่เคยเกิดในอดีต
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ - เจลีก ไม่ต้อนรับทีมที่ใช้ชื่อบริษัทเอกชน และทีมสถานบันการศึกษา
- อย่างน้อยทุนครึ่งหนึ่ง ต้องมีเจ้าของเป็นคนญี่ปุ่น
- ต้องมีสถานะทางการเงินที่เหมาะสม(ลีกกำหนดให้ต้องมี1.5 ล้านเยน หรือประมาณ 5 แสนบาท เมื่อเข้าสู่เจ2 และ ต้องมีถึง 5 ล้านเยน เมื่อ จบ 2 ฤดูกาล ใน เจ2
- ต้องมีสปอนเซอร์ที่มันคง 1 ล้านเยน
- ต้องมีลูกจ้าง ที่ทำหน้าที่บริหารจัดการอย่างน้อย 3 คน , 1ใน3คน ต้องเป็นผู้บริหาร โดย 3 คนที่ว่านี้ต้องทำงานเต็มเวลา
- ต้องมีระบบ บัญชีค่าจ้างที่เหมาะสม ตามกฎหมายญี่ปุ่น
- ต้องเสียภาษีประจำปี
สนาม
- ต้องมีสนามเหย้า
- ต้องมี หรือมีแผนว่าจะมี สนามหญ้าจริง ที่มีความจุ ขั้นต่ำ 10,000 ที่นั่ง
- ต้องมีที่นั่งนักข่าว(Press Box) และห้องประชุม แถลงข่าวทั้งก่อนเกมและหลังเกม
- สนามสามารถจัดการแข่งขันได้ในตามจำนวนเกมที่ลีกกำหนด
Home Town
- ต้องได้รับความเห็นชอบจากทางจังหวัดที่สนามเหย้าตั้งอยู่ และชื่อทีมต้องมีชื่อเมือง หรือชื่อจังหวัด หรือชื่อย่านที่สโมสรเหย้าตั้งอยู่ด้วย(ในช่วงยุกเจลีกก่อตั้งขึ้นมาตอนแรกนั้นบังคับว่าสโมสรจะต้องเป็นชื่อเมือง(=อำเภอหรือเขตของบ้านเรา)เท่านั้น แต่ต่อมาเมื่อเจลีกเล็งเห็นว่า จังหวัดเล็กๆไม่สามารถหาสร้างสโมสรตามเงื่อนไขแค่เมืองเดียวหรืออำเภอเดียวได้ จึงออกกฎใหม่ให้ชื่อทีมสร้างฐานแฟนบอลทั้งจังหวัด และใช้ชื่อจังหวัดได้
- ต้องได้รับความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษร จากทางรัฐบาลจังหวัด หรือองค์กรปกครองส่วนทางถิ่นของเมืองหรือจังหวัด
ค่าธรรมเนียม
- ไม่มีค่าแรกเข้าในการเข้าเป็นสมาชิกองค์กรฟุตบอลลีกอาชีพญี่ปุ่น
- ค่าธรรมเนียมรายปี 1.2 ล้านเยน
กฎข้ออื่นๆที่สำคัญในการเลื่อนชั้นจาก JFL สู่ J2
- ติด 4 อันดับแรก ใน JFL
- โค้ช ต้องมีโค้ช S ไลเซนซ์(ไม่แน่ใจว่าเป็นโปรไลเซนซ์หรือเอไลเซนซ์ถ้าเทียบกันที่อื่นแต่คิดว่าน่าจะเป็นโปรน่ะแต่ไม่แน่ใจ )
- โค้ชเยาวชน ต้องได้ บี ไลเซนซ์ เป็นอย่างต่ำ
- ผู้บริหารเต็มเวลาอย่างน้อย หนึ่งคน กรรมการบริหารทำงานเต็มเวลาอย่างน้อยอีก 3 คน
- มีรายได้ประจำปี 150 ล้านเยน
- ได้รับยืนยันการสนับสนุนจาก home townหรือจังหวัดหรือเมืองที่ตั้งอยู่อีกครั้ง
- มีจดหมายจากสมาคมฟุตบอลเทศบาลเมือง นคร หรือจังหวัด โดยมีรายละเอียดเป็นรายลักษณ์อักษรที่จะสนับสนุนทีม
- สนามต้องมีความจุอย่างน้อย 10,000 ที่นั่ง และสามารถจัดการแข่งในบ้านได้จำนวนอย่างน้อย 80 เปอร์เซ็นต์ ของเกมลีกทั้งหมดในหนึ่งฤดูกาล ส่วนเกมที่เหลือสามารถจัดการแข่งขันในสนามที่เล็กกว่านั้นได้(สนามของทีมในเจลีกบางทีมจะมีสนามเหย้า2สนาม)
- มีการจัดตั้งกลุ่มแฟนคลับของแต่ล่ะสโมสรมาสนับสนุนทีม
- จำนวนผู้ชมเฉลี่ยในบ้านในการแข่งขัน JFL อย่างน้อย 3000 คน
- มีทีมยู18 , ยู 15 , ยู 12(โดยที่ยู12 สามารถเปิดเป็นแบบโรงเรียนคลินิกฟุตบอลได้) เงื่อนไขของทีมเยาวชนเหล่านี้จะได้รับการยกเว้นชั่วคราว1ข้อ ในระยะเวลา 3 แรกที่เล่นอยู่ใน เจ2
- ค่าธรรมเนียมแรกเข้าสู่ J2 เป็นเงิน 20 ล้านเยน
- ค่าธรรมเนียมรายปีอีก 20 ล้านเยน
กฎสำหรับทีมที่จะเลื่อนชั้น จาก J2 ที่จะเลื่อนชั้นสู่ J1
- ติดอันดับ 1 ใน 3 ใน J1
- ผู้เล่นอย่างน้อย 15 คน เป็น เซ็นสัญญาผู้เล่น Pro A
- มีสนามสำหรับทีมในลีกสำรอง
- มีระบบการจัดการสอดคล้องกับมาตรฐานการเลื่อนชั้นสู่ J1
- สนามมีความจุอย่งน้อย 15,000 ที่นั่ง และจัดการแข่งขันเกมนในบ้านได้อย่างน้อย 80 เปอร์เซ็นต์ ของเกมลีกในบ้านใน1ฤดูกาล
- มีทีมเยาวชน ครบทั้ง ยู18 , ยู 15 , ยู 12
- ค่าธรรมเนียมแรกเข้าในการเข้าร่วม J1 60 ล้านเยน
- ค่าธรรมเนียมรายปี 40 ล้านเยน
เครดิต http://www.thailandsusu.com/webboard/index.php?topic=42323.0
การส่งออกผู้เล่นไปค้าแข้งในลีกระดับสูงกว่า
ตั้งแต่ก่อตั้งลีกมา TPL ส่งออกนักเตะ(ไทย)ไปลีกที่สูงกว่าได้คนเดียวคือธีรศิล แดงดา ในขณะที่ญี่ปุ่นส่งออกเรียกว่าเป็นสินค้าได้เลย
เพราะเจลีกเป็นลีกที่เน้นการส่งออกด้วยนโยบายห้ามกีดกันของ JFA + ทัศนคติของเด็กญี่ปุ่นหลายๆที่อยากไปโชวฝีเท้าในเวทียุโรป
ทำให้ตอนนี้มีนักเตะญี่ปุ่นที่ได้ลงทะเบียนเล่นในยุโรปเกือบ 50 คนแล้ว(และยังมีทวีปอื่นๆอีกหลายคนมีมาไทยลีกด้วย) และหลายๆคนที่
ไปยุโรปย้ายไปแบบ
ไม่มีค่าตัวด้วยจะเห็นได้ถึงการสนับสนุนการส่งเด็กไปลีกที่สูงขึ้นของทั้งสโมสรและสมคมของเค้า
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้http://www.football-marketing.com/2011/02/10/how-zero-yen-transfers-are-hurting-the-j-league-and-japanese-football/
ดูตั้งแต่นาทีที่ 8 ไป
จะเห็นว่าภาพรวมเรายังตามเค้าอยู่มากกกก(ก.ล้านตัว)ฟุตบอลทีมชาติและสโมสรเราก็เหมือนเด็กที่กำลังหัดเดินจะให้
ไล่ตามเด็กที่เดินเป็นกำลังหัดวิ่งทันมันต้องใช้เวลา มีล้มบ้างบ้างเป็นเรื่องปกติสำคัญแฟนบอลอย่าเพิ่งหมดศรัทธาญี่ปุ่น
กว่าจะมาถึงจุดนี้ล้มลุกคลุกคลานมาเยอะช่วยไปเชียร์ไปดูสโมสรฟุตบอลใกล้ๆบ้านค่อยๆเติบโตไปด้วยกัน
มาดูระยะห่างของฟุตบอลไทยกับญี่ปุ่นกันครับ
JFA (สมาคมฟุตบอลญี่ปุ่น)มีกฏให้ทีมในดิวิชัน 1 และ2 ต้องมีอะคาเดมี่ของตังเองมีทัวนาเมนต์ระดับเยาวชนมากมายได้ลงเล่น
อย่างเช่น Prince Takamado Cup U15 U18 ,All Japan High School Soccer Tournament ระบบสร้างเยาวชนเค้าไม่ได้เน้นแค่
อะคาเดมี่สโมสรอาชีพแต่ยังครอบคลุ่มไปถึงฟุตบอลโรงเรียนด้วยเพราะจะเข้าถึงเด็กกลุ่มใหญ่มากกว่ามีนักเตะทีมชาติ
หลายๆคนแจ้งเกิดจากฟุตบอลไฮสคูลอย่างซูซูกิลูกครึ่งผิวสีคนแรกที่ยิงประตูเราเมื่อวันก่อนก็เริ่มจากฟุตบอลมัธยมจนติดทีมชาติ
นอกจากนี้ยังมีการสร้างอะคาเดมี่ของสมาคมทั่วประเทศเป็นต้นแบบให้สโมสรใหม่ๆผลิตทั้งนักเตะเยาวชนชายหญิง และโคชทำให้
ระบบรูปแบบการเล่นพัฒนาไปในทิศทางเดียวกัน
ของเราเริ่มมีลีกเยาวชนแล้วแต่ยังไม่เต็มรูปแบบและฟุตบอลระดับโรงเรียนก็ยังขาดการจัดการและระบบต่อยอดแบบเค้า
มูลค่าลีกฟุตบอลในประเทศ
หลายๆคนคิดว่าฟุตบอลลีกของเราใกล้จะเทียบเคียงเค้าได้แต่ในความเป็นจริงตลอดเวลา 4 ปีในเวทีสโมสรเอเชีย3ทีมที่ดีที่สุด
ของเรา เมืองทอง ชลบุรี บุรีรัมย์ ชนะเค้าได้แค่ครั้งที่เจอกันทุกเกม และทีมที่เจอส่วนมากก็ไม่ใช่ทีมที่ดีที่สุด
ที่เพราะอะไรจะให้ดู มูลค่าฟุตบอลภายในของเค้าสูงและเติบโตมากมาก มากจนฟุตบอลสโมสรเอเชียลดความสำคัญ
ไปให้นึกถึงฟุตบอล ยูโรป้าลีก ที่ทำเงินให้สโมสรจากทีมที่มากจากภาคพื้นยุโรปแต่เป็นถ้วยที่ไม่มีประโยชน์สำหรับทีมจากอังกฤษรายได้เจลีก
ดิวิชัน 1 ปี2013 สูงถึง 404 ล้านยูโร แบ่งได้ทีมละ 22.4ล้านยูโร(ประมาณ900ล้านบาท)และรายได้อื่นๆสินค้าที่ระลึกลิขสิทธ์ค่า
ภาพลักษณ์ค่าตั๋ว(แพงกว่าACL)ก็สูงมากตามกำลังซื้อของคนญี่ปุ่น ส่วนฟุตบอลสโมสรเอเชียทีมถ้าแข่งจนได้แชมป์จะได้รางวัล
1,560,000 US$ รวมค่าเดินทางค่าสนับสนุนต่างถ้าแข่งจนได้แชมป์จะได้ 2.25ล้านUS$แถมเตะกลางสัปดาห์ทำให้รายได้อื่นๆ
น้อยลงมากทำให้ทีมเจลีกโรเตชันตัวผู้เล่นเยอะมาก นี่พอจะตอบคำถามได้ว่าทำไมทีมสโมสรจากญี่ปุ่นถึงมักจะแพ้ทีมจากเคลีก
และไชนิสซุปเปอร์ลีกตกรอบแรกมาหลายๆปีติด
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
เทียบกับรายได้ TPL มูลค่าลีกเราพัฒนามาไกลมากรายได้ค่าสนับสนุนและลิขสิทธิ์ถ่ายทอดสดได้จากTPlมากถึงทีมละ 30ลในปีนี้ และราวัลชนะเลิศสามถ้วยทีพีแอลลีกคัพเอฟเอคัฟจะทำให้ได้รับเงินอุดหนุนและเงิน
รางวัลทั้งสิ้น 41 ล้านบาทและไม่นับค่าสปอนเซอร์และรายได้อื่นๆ แต่ก็ยังมีปัญหา บางทีมหางบมาอุดหนุนทีมไม่ได้ และหลายๆทีมก็ยังขาดทุนอยู่ อาจมีปัญหาในอนาคตควรมีการวางกฎการเงินให้เข้มงวดป้องกันฟองสบู่แตกในอนาคต ถ้าการเงินมั่นคงการพัฒนาอื่นๆก็จะตามมา นี่เป็นแนวทางกฎระเบียบที่ JFA ใช้ควบคุมคุณภาพทีมที่เข้าร่วมป้องกันปัญหาการเงินและฟองสบู่ที่เคยเกิดในอดีต
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
การส่งออกผู้เล่นไปค้าแข้งในลีกระดับสูงกว่า
ตั้งแต่ก่อตั้งลีกมา TPL ส่งออกนักเตะ(ไทย)ไปลีกที่สูงกว่าได้คนเดียวคือธีรศิล แดงดา ในขณะที่ญี่ปุ่นส่งออกเรียกว่าเป็นสินค้าได้เลย
เพราะเจลีกเป็นลีกที่เน้นการส่งออกด้วยนโยบายห้ามกีดกันของ JFA + ทัศนคติของเด็กญี่ปุ่นหลายๆที่อยากไปโชวฝีเท้าในเวทียุโรป
ทำให้ตอนนี้มีนักเตะญี่ปุ่นที่ได้ลงทะเบียนเล่นในยุโรปเกือบ 50 คนแล้ว(และยังมีทวีปอื่นๆอีกหลายคนมีมาไทยลีกด้วย) และหลายๆคนที่
ไปยุโรปย้ายไปแบบไม่มีค่าตัวด้วยจะเห็นได้ถึงการสนับสนุนการส่งเด็กไปลีกที่สูงขึ้นของทั้งสโมสรและสมคมของเค้า
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ดูตั้งแต่นาทีที่ 8 ไป
จะเห็นว่าภาพรวมเรายังตามเค้าอยู่มากกกก(ก.ล้านตัว)ฟุตบอลทีมชาติและสโมสรเราก็เหมือนเด็กที่กำลังหัดเดินจะให้
ไล่ตามเด็กที่เดินเป็นกำลังหัดวิ่งทันมันต้องใช้เวลา มีล้มบ้างบ้างเป็นเรื่องปกติสำคัญแฟนบอลอย่าเพิ่งหมดศรัทธาญี่ปุ่น
กว่าจะมาถึงจุดนี้ล้มลุกคลุกคลานมาเยอะช่วยไปเชียร์ไปดูสโมสรฟุตบอลใกล้ๆบ้านค่อยๆเติบโตไปด้วยกัน