สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 16
สวัสดีค่ะพี่ๆลุงๆห้องเพลงราชดำเนินที่น่ารักน่าถนุถนอมทุกๆท่าน
ชอบเพลงนี้ เพราะดีชอบค่ะ ความหมายดีด้วย
ชีวิตลิขิตเอง - เบิร์ด ธงไชย
ก่อนเคยเชื่อในลิขิตฟ้าดิน ปล่อยชีวิตไปตามโชคชะตา
แต่ฝันไม่เคยถึงฝั่ง ผิดหวังในใจเรื่อยมา เพราะฟ้าไม่มีหัวใจ
จะเลวหรือดีมันอยู่ที่คน จะมีหรือจนมันอยู่ที่ใจ
ดินฟ้าไม่เคยลิขิต ชีวิตจะเป็นเช่นไร อย่าเลยอย่าถามฟ้า
ปีนไปให้สูงที่สุด อย่างที่คิดฝันไว้กับใจ
จะยากเย็นเท่าไร บอกใจว่าจะไม่กลัว
ไม่รอให้ฟ้าดินลิขิต ไม่ปล่อยให้ชีวิตผ่านไป
ไม่ว่าจะสูงจะไกลเท่าไหร่ จะไขว่จะคว้าจะฝ่าฟัน
ไม่ยอมให้ฟ้าหรือใครลิขิต อยากมีชีวิตที่ใฝ่(และ)ฝัน
(ตั้งแต่วันนี้) นี่คือชีวิตลิขิตของเรา
เปรียบชีวิตเป็นดังบทละคร จะยอมให้ใครเขียนบทของเรา
ชีวิตจะเป็นเช่นไร ก็ขอให้เป็นเพราะเรา เรื่องราวที่เราต้องเขียน...
แต่ฝันไม่เคยถึงฝั่ง ผิดหวังในใจเรื่อยมา เพราะฟ้าไม่มีหัวใจ
จะเลวหรือดีมันอยู่ที่คน จะมีหรือจนมันอยู่ที่ใจ
ดินฟ้าไม่เคยลิขิต ชีวิตจะเป็นเช่นไร อย่าเลยอย่าถามฟ้า
ปีนไปให้สูงที่สุด อย่างที่คิดฝันไว้กับใจ
จะยากเย็นเท่าไร บอกใจว่าจะไม่กลัว
ไม่รอให้ฟ้าดินลิขิต ไม่ปล่อยให้ชีวิตผ่านไป
ไม่ว่าจะสูงจะไกลเท่าไหร่ จะไขว่จะคว้าจะฝ่าฟัน
ไม่ยอมให้ฟ้าหรือใครลิขิต อยากมีชีวิตที่ใฝ่(และ)ฝัน
(ตั้งแต่วันนี้) นี่คือชีวิตลิขิตของเรา
เปรียบชีวิตเป็นดังบทละคร จะยอมให้ใครเขียนบทของเรา
ชีวิตจะเป็นเช่นไร ก็ขอให้เป็นเพราะเรา เรื่องราวที่เราต้องเขียน...
ความคิดเห็นที่ 9
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
Doris Day - Que Sera Sera -
ไม่มีใครรู้หรอกว่าชีวิตเราในวันข้างหน้าจะเป็นอย่างไร แต่อะไรจะเกิดก็ต้องเกิดวันยังค่ำ
ถ้า Doris Day มีตาทิพย์มองเห็นเหตุการณ์ในอนาคต
ว่าอะไรจะเกิดขึ้นกับเพลงที่เธอแทบไม่อยากร้องในตอนแรก เธอคงนึกขำน่าดู เพลงที่พูดถึงนี้
หากเปรียบเป็นอาหารแล้วก็เหมือนเมนูที่ดูไม่น่ากินในสายตาแม่ครัวเอาซะเลย
แต่เจ้าของร้านอาหารบอกให้ทำๆไปเถอะ แม่ครัวก็เลยต้องจำใจทำทั้งๆที่สะอิดสะเอียนจะแย่
แต่ปรากฏว่าอาหารจานนั้นเป็นอาหารที่โอชารสแถมอมตะอีกต่างหาก
คนกินเท่าไหร่ก็ไม่อิ่มตลอดระยะเวลา 58 ปีนับแต่วันที่อาหารนั้นถูกปรุงขึ้นจนถึงปัจจุบัน
ที่มาของเรื่องเป็นอย่างนี้ครับ
วันหนึ่งในปี ค.ศ. 1956 ระหว่างที่ Afred Hitchcock ผู้กำกับภาพยนตร์ชื่อดังมาดเจ้าพ่อ
กำลังกำกับหนังเรื่อง The Man Who Knew Too Much
เขาได้โทรศัพท์หา Jay Livingston และ Ray Evans นักแต่งเพลงคู่หู
แล้วเริ่มบทสนทนาสไตล์นักเลงที่คนทั่วไปไม่ค่อยพูดกันเท่าไหร่ว่า
"จริงๆแล้ว ผมไม่อยากจะได้เพลงอะไรทั้งนั้น...แต่ตอนนี้ผมกำลังสร้างหนังอยู่เรื่องหนึ่ง
มี Jimmy Stewart เป็นพระเอกรับบทเป็นนักการทูตประจำยุโรปและมีนางเอกคือ Doris Day
ภรรยาที่ต้องดูแลลูกชายเล็กๆคนหนึ่ง
คุณสองคนช่วยแต่งเพลงที่ Doris Day จะร้องให้ลูกชายฟังซักเพลงเถอะ
แต่ผมก็ไม่รู้หรอกนะว่าเพลงมันควรจะเป็นแนวไหน..."
Jay Livingston กับ Ray Evans รีบรับปากทันทีว่าจะจัดการให้
ซึ่งภายหลัง Jay Livingston สารภาพว่าอันที่จริงเขากับ Ray Evans
เพิ่งเขียนเพลง Que Sera, Sera (Whatever Will Be, Will Be) เสร็จไปพอดิบพอดี
ประมาณสองอาทิตย์ก่อนที่ Alfred Hitchcock จะโทรมา
แต่ทั้งสองคนแกล้งปล่อยเวลาให้ผ่านไปอีกสองอาทิตย์เพื่อให้ดูเหมือนว่าใช้เวลาทุ่มเทแต่งเพลงกันอย่างสุดๆ
พอได้เวลาจึงเล่นให้ Alfred Hitchcock ฟัง หลังจากฟังแล้ว Alfred Hitchcock บอกว่า
"ผมเคยบอกพวกคุณใช่ไหมว่าผมไม่รู้ว่าผมต้องการเพลงแนวไหน แต่ไอ้เจ้าเพลงที่คุณเล่นนี่มันโดนจริงๆเลยว่ะ..."
ปัญหาต่อไปคือพอนำเพลงนี้ไปเสนอให้ Doris Day ปรากฏว่านางเอกของเราไม่ยอมร้อง
บอกว่าเพลงอะไรก็ไม่รู้ "...อะไรจะเกิดก็ต้องเกิด..." (whatever will be, will be) สุดแสนจะไม่เข้าท่า
แต่ Marty Melcher สามีของเธอบอกว่าร้องไปเถอะ รับรองว่าเพลงนี้ต้องดังแน่
ประกอบกับทางโรงถ่ายก็ทั้งปลอบทั้งขู่ให้เธอร้อง
สุดท้าย Doris Day ทนแรงกดดันไม่ไหว จึงยอมร้องเพลงนี้ โดยบันทึกเสียงแค่เทคเดียวเท่านั้น
พร้อมกับบอกว่านี่เป็นครั้งสุดท้ายที่พวกคุณจะได้ยินฉันร้องเพลงนี้
แต่ผลปรากฎว่า Doris Day ไม่ได้ร้องเพลงนี้ครั้งนั้นเป็นครั้งสุดท้ายหรอกครับ
เธอร้องต่อมาอีกไม่รู้กี่ร้อยครั้ง เพราะหลังจากภาพยนตร์เรื่อง The Man Who Knew Too Much ออกฉายแล้ว
ผู้คนต่างชื่นชอบเพลง Que Sera, Sera (Whatever Will Be, Will Be) กันมาก
จนเพลงนี้ขึ้นถึงอันดับที่สองนานถึงสามสัปดาห์ และเพลงนี้ยังได้รับรางวัล Oscar
ในฐานะเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยมในปี ค.ศ.1956
นอกจากนี้ Doris Day ได้ใช้เพลง Que Sera, Sera (Whatever Will Be, Will Be)
เป็นเพลงรายการโทรทัศน์ของเธอนานถึง 6 ปี
เพลงที่เธอไม่เคยนึกชอบเลยในตอนแรกกลับกลายเป็นเพลงประจำตัวเธอตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา
เธอบอกว่า ตอนนี้เธอเชื่อแล้วว่าวิถีชีวิตของเราทุกคนถูกโชคชะตากำหนดมาแล้วตั้งแต่เกิด
หรือพูดอีกอย่างหนึ่งว่าอะไรมันจะเกิดก็ต้องเกิดนั่นเอง
"...I strongly believe in the inevitability of everyone's life pattern. Our destinies are born with us..."
เดิมเพลงนี้ มีชื่อเป็นภาษาอิตาเลียนว่า Che Sera, Sera
แต่ Jay Livingston กับ Ray Evans เห็นว่าภาษาสเปนน่าจะเป็นภาษาที่ทั่วโลกนิยมใช้มากกว่า
เลยเปลี่ยนเป็น Que Sera, Sera ซึ่งมีความหมายเดียวกันว่า What will be, will be
แต่เนื่องจากมีกฎว่าเพลงที่เข้าชิงรางวัล Oscar นั้นจะต้องมีชื่อเป็นภาษาอังกฤษเท่านั้น
เพลง Que Sera, Sera จริงถูกเปลี่ยนชื่อเป็น Whatever Will Be, Will Be แต่ก็วงเล็บ Que Sera, Sera ต่อท้ายด้วย
สรุปแล้ว แม้ว่าเพลง Que Sera, Sera (Whatever Will Be, Will Be) เกือบจะไม่ได้เกิดเพราะคนร้องไม่ยอมร้อง
แต่เพลงนี้ก็หนีโชคชะตาตัวเองไม่พ้นเช่นกัน นั่นคือโชคชะตาที่จะได้โด่งดังเป็นพลุแตกไงครับ
เห็นไหมล่ะ Whatever will be, will be จริงๆด้วย
Doris Day - Que Sera Sera -
ไม่มีใครรู้หรอกว่าชีวิตเราในวันข้างหน้าจะเป็นอย่างไร แต่อะไรจะเกิดก็ต้องเกิดวันยังค่ำ
ถ้า Doris Day มีตาทิพย์มองเห็นเหตุการณ์ในอนาคต
ว่าอะไรจะเกิดขึ้นกับเพลงที่เธอแทบไม่อยากร้องในตอนแรก เธอคงนึกขำน่าดู เพลงที่พูดถึงนี้
หากเปรียบเป็นอาหารแล้วก็เหมือนเมนูที่ดูไม่น่ากินในสายตาแม่ครัวเอาซะเลย
แต่เจ้าของร้านอาหารบอกให้ทำๆไปเถอะ แม่ครัวก็เลยต้องจำใจทำทั้งๆที่สะอิดสะเอียนจะแย่
แต่ปรากฏว่าอาหารจานนั้นเป็นอาหารที่โอชารสแถมอมตะอีกต่างหาก
คนกินเท่าไหร่ก็ไม่อิ่มตลอดระยะเวลา 58 ปีนับแต่วันที่อาหารนั้นถูกปรุงขึ้นจนถึงปัจจุบัน
ที่มาของเรื่องเป็นอย่างนี้ครับ
วันหนึ่งในปี ค.ศ. 1956 ระหว่างที่ Afred Hitchcock ผู้กำกับภาพยนตร์ชื่อดังมาดเจ้าพ่อ
กำลังกำกับหนังเรื่อง The Man Who Knew Too Much
เขาได้โทรศัพท์หา Jay Livingston และ Ray Evans นักแต่งเพลงคู่หู
แล้วเริ่มบทสนทนาสไตล์นักเลงที่คนทั่วไปไม่ค่อยพูดกันเท่าไหร่ว่า
"จริงๆแล้ว ผมไม่อยากจะได้เพลงอะไรทั้งนั้น...แต่ตอนนี้ผมกำลังสร้างหนังอยู่เรื่องหนึ่ง
มี Jimmy Stewart เป็นพระเอกรับบทเป็นนักการทูตประจำยุโรปและมีนางเอกคือ Doris Day
ภรรยาที่ต้องดูแลลูกชายเล็กๆคนหนึ่ง
คุณสองคนช่วยแต่งเพลงที่ Doris Day จะร้องให้ลูกชายฟังซักเพลงเถอะ
แต่ผมก็ไม่รู้หรอกนะว่าเพลงมันควรจะเป็นแนวไหน..."
Jay Livingston กับ Ray Evans รีบรับปากทันทีว่าจะจัดการให้
ซึ่งภายหลัง Jay Livingston สารภาพว่าอันที่จริงเขากับ Ray Evans
เพิ่งเขียนเพลง Que Sera, Sera (Whatever Will Be, Will Be) เสร็จไปพอดิบพอดี
ประมาณสองอาทิตย์ก่อนที่ Alfred Hitchcock จะโทรมา
แต่ทั้งสองคนแกล้งปล่อยเวลาให้ผ่านไปอีกสองอาทิตย์เพื่อให้ดูเหมือนว่าใช้เวลาทุ่มเทแต่งเพลงกันอย่างสุดๆ
พอได้เวลาจึงเล่นให้ Alfred Hitchcock ฟัง หลังจากฟังแล้ว Alfred Hitchcock บอกว่า
"ผมเคยบอกพวกคุณใช่ไหมว่าผมไม่รู้ว่าผมต้องการเพลงแนวไหน แต่ไอ้เจ้าเพลงที่คุณเล่นนี่มันโดนจริงๆเลยว่ะ..."
ปัญหาต่อไปคือพอนำเพลงนี้ไปเสนอให้ Doris Day ปรากฏว่านางเอกของเราไม่ยอมร้อง
บอกว่าเพลงอะไรก็ไม่รู้ "...อะไรจะเกิดก็ต้องเกิด..." (whatever will be, will be) สุดแสนจะไม่เข้าท่า
แต่ Marty Melcher สามีของเธอบอกว่าร้องไปเถอะ รับรองว่าเพลงนี้ต้องดังแน่
ประกอบกับทางโรงถ่ายก็ทั้งปลอบทั้งขู่ให้เธอร้อง
สุดท้าย Doris Day ทนแรงกดดันไม่ไหว จึงยอมร้องเพลงนี้ โดยบันทึกเสียงแค่เทคเดียวเท่านั้น
พร้อมกับบอกว่านี่เป็นครั้งสุดท้ายที่พวกคุณจะได้ยินฉันร้องเพลงนี้
แต่ผลปรากฎว่า Doris Day ไม่ได้ร้องเพลงนี้ครั้งนั้นเป็นครั้งสุดท้ายหรอกครับ
เธอร้องต่อมาอีกไม่รู้กี่ร้อยครั้ง เพราะหลังจากภาพยนตร์เรื่อง The Man Who Knew Too Much ออกฉายแล้ว
ผู้คนต่างชื่นชอบเพลง Que Sera, Sera (Whatever Will Be, Will Be) กันมาก
จนเพลงนี้ขึ้นถึงอันดับที่สองนานถึงสามสัปดาห์ และเพลงนี้ยังได้รับรางวัล Oscar
ในฐานะเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยมในปี ค.ศ.1956
นอกจากนี้ Doris Day ได้ใช้เพลง Que Sera, Sera (Whatever Will Be, Will Be)
เป็นเพลงรายการโทรทัศน์ของเธอนานถึง 6 ปี
เพลงที่เธอไม่เคยนึกชอบเลยในตอนแรกกลับกลายเป็นเพลงประจำตัวเธอตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา
เธอบอกว่า ตอนนี้เธอเชื่อแล้วว่าวิถีชีวิตของเราทุกคนถูกโชคชะตากำหนดมาแล้วตั้งแต่เกิด
หรือพูดอีกอย่างหนึ่งว่าอะไรมันจะเกิดก็ต้องเกิดนั่นเอง
"...I strongly believe in the inevitability of everyone's life pattern. Our destinies are born with us..."
เดิมเพลงนี้ มีชื่อเป็นภาษาอิตาเลียนว่า Che Sera, Sera
แต่ Jay Livingston กับ Ray Evans เห็นว่าภาษาสเปนน่าจะเป็นภาษาที่ทั่วโลกนิยมใช้มากกว่า
เลยเปลี่ยนเป็น Que Sera, Sera ซึ่งมีความหมายเดียวกันว่า What will be, will be
แต่เนื่องจากมีกฎว่าเพลงที่เข้าชิงรางวัล Oscar นั้นจะต้องมีชื่อเป็นภาษาอังกฤษเท่านั้น
เพลง Que Sera, Sera จริงถูกเปลี่ยนชื่อเป็น Whatever Will Be, Will Be แต่ก็วงเล็บ Que Sera, Sera ต่อท้ายด้วย
สรุปแล้ว แม้ว่าเพลง Que Sera, Sera (Whatever Will Be, Will Be) เกือบจะไม่ได้เกิดเพราะคนร้องไม่ยอมร้อง
แต่เพลงนี้ก็หนีโชคชะตาตัวเองไม่พ้นเช่นกัน นั่นคือโชคชะตาที่จะได้โด่งดังเป็นพลุแตกไงครับ
เห็นไหมล่ะ Whatever will be, will be จริงๆด้วย
ความคิดเห็นที่ 19
ประกาศผลชิง 100 เม้นท์ห้องเพลง
ตั้งกระทู้ 18:30:00 (มาตรฐานจริงๆ ค่ะพี่ X)
1 น้องหญิงมะเขือเทศฯ 18:30:07 7 วิ
2 คุณชายน้อย ร้อยอีเมล์ 18:30:16 16 วิ
3 MC พี่สาว 18:30:28 28 วิ
4 MC ชุนเทียน 18:30:42 42 วิ
5 พี่ฟู่หงเซียะ 18:32:32 2 นาที 32 วิ
6 พี่พระรอง 18:32:51 2 นาที 51 วิ
7 คุณทาร์ซานน้อย 18:33:02 3 นาที 02 วิ
8 พี่โรสคนสวย 18:36:01 6 นาที 1 วิ
9 พี่บี 18:36:31 6 นาที 31 วิ
10 ปะแป้ง 18:36:59 6 นาที 59 วิ
11 คุณ 2866758 18:37:20 7 นาที 20 วิ
12 MC นู๋สร้างชาติ 18:37:24 7 นาที 24 วิ
13 คุณแกงส้ม 18:38:49 8 นาที 49 วิ
14 พี่กบ 18:42:45 12 นาที 45 วิ
..........................................................
ตั้งกระทู้ 18:30:00 (มาตรฐานจริงๆ ค่ะพี่ X)
1 น้องหญิงมะเขือเทศฯ 18:30:07 7 วิ
2 คุณชายน้อย ร้อยอีเมล์ 18:30:16 16 วิ
3 MC พี่สาว 18:30:28 28 วิ
4 MC ชุนเทียน 18:30:42 42 วิ
5 พี่ฟู่หงเซียะ 18:32:32 2 นาที 32 วิ
6 พี่พระรอง 18:32:51 2 นาที 51 วิ
7 คุณทาร์ซานน้อย 18:33:02 3 นาที 02 วิ
8 พี่โรสคนสวย 18:36:01 6 นาที 1 วิ
9 พี่บี 18:36:31 6 นาที 31 วิ
10 ปะแป้ง 18:36:59 6 นาที 59 วิ
11 คุณ 2866758 18:37:20 7 นาที 20 วิ
12 MC นู๋สร้างชาติ 18:37:24 7 นาที 24 วิ
13 คุณแกงส้ม 18:38:49 8 นาที 49 วิ
14 พี่กบ 18:42:45 12 นาที 45 วิ
..........................................................
ความคิดเห็นที่ 3
สุขสันต์เย็นวันพุธค่ะ เพื่อน ๆ ห้องเพลง
พี่สาวเปิดเพลงนี้ เป็นพิเศษ เนื่องในเทศกาลปีใหม่ ให้กับ
อดีต "ครูดอย" คุณ วัชรานนท์ ค่ะ
ฟังแล้วประทับใจมาก นึกถึง อดีต "ครูดอย" ทันที
แรงเทียน - วิสา คัญทัพ
https://www.youtube.com/watch?v=LC8_8mHUn9M
เพลง: แรงเทียน เพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง ครูดอย พ.ศ.2526
คำร้อง-ทำนอง: วิสา คัญทัพ
...เทียนหนึ่งเคยวับวาว ลมเป่าลาลับพลัน
ดังจะเคลิ้มฝัน แต่แล้วพลันดับมืดมน
ลมร้ายแรง หรือจะแข่งใจคน
หากร้อนไฟลน แห่งแสงเทียนไม่เปลี่ยนใจ
ฟ้านี้มืดนัก ที่รักอยู่แห่งใด
แสงเทียนเคยนวลใย เหตุใดดับโรยรา
โชนฉายเพื่อชาวชน สว่างหนทุกเวลา
หรือพ่ายแพ้แก่มายา...จึงไม่กล้าท้าตน ฝ่าฟัน
เทียนหนึ่งเคยวับวาว ลมเป่าลาลับพลัน
ดังจะเคลิ้มฝัน แต่แล้วพลันดับมืดมน
ลมร้ายแรง หรือจะแข่งใจคน
หากร้อนไฟลน แห่งแสงเทียนไม่เปลี่ยนใจ
ฟ้านี้มืดนัก ที่รักจงจุดไฟ
ขอเป็นเช่นแรงใจ ก้าวไปกับครูคอย
ทอแสงเร่งแรงไฟ สว่างฉายละล่องลอย
ให้เลิกเหงาเลิกเฝ้าคอย เลิกท้อถอยเร่งฝ่าฟัน...
แถมอีก 1 เพลงค่ะ
จากนางเอก "ครูบ้านนอก"
เธอกับฉันคือเพลง - วาสนา สิทธิเวช
https://www.youtube.com/watch?v=6epwsIbKXzA
พี่สาวเปิดเพลงนี้ เป็นพิเศษ เนื่องในเทศกาลปีใหม่ ให้กับ
อดีต "ครูดอย" คุณ วัชรานนท์ ค่ะ
ฟังแล้วประทับใจมาก นึกถึง อดีต "ครูดอย" ทันที
แรงเทียน - วิสา คัญทัพ
https://www.youtube.com/watch?v=LC8_8mHUn9M
เพลง: แรงเทียน เพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง ครูดอย พ.ศ.2526
คำร้อง-ทำนอง: วิสา คัญทัพ
...เทียนหนึ่งเคยวับวาว ลมเป่าลาลับพลัน
ดังจะเคลิ้มฝัน แต่แล้วพลันดับมืดมน
ลมร้ายแรง หรือจะแข่งใจคน
หากร้อนไฟลน แห่งแสงเทียนไม่เปลี่ยนใจ
ฟ้านี้มืดนัก ที่รักอยู่แห่งใด
แสงเทียนเคยนวลใย เหตุใดดับโรยรา
โชนฉายเพื่อชาวชน สว่างหนทุกเวลา
หรือพ่ายแพ้แก่มายา...จึงไม่กล้าท้าตน ฝ่าฟัน
เทียนหนึ่งเคยวับวาว ลมเป่าลาลับพลัน
ดังจะเคลิ้มฝัน แต่แล้วพลันดับมืดมน
ลมร้ายแรง หรือจะแข่งใจคน
หากร้อนไฟลน แห่งแสงเทียนไม่เปลี่ยนใจ
ฟ้านี้มืดนัก ที่รักจงจุดไฟ
ขอเป็นเช่นแรงใจ ก้าวไปกับครูคอย
ทอแสงเร่งแรงไฟ สว่างฉายละล่องลอย
ให้เลิกเหงาเลิกเฝ้าคอย เลิกท้อถอยเร่งฝ่าฟัน...
แถมอีก 1 เพลงค่ะ
จากนางเอก "ครูบ้านนอก"
เธอกับฉันคือเพลง - วาสนา สิทธิเวช
https://www.youtube.com/watch?v=6epwsIbKXzA
แสดงความคิดเห็น
ห้องเพลง**คนรากหญ้า** พักยกการเมือง มุมเสียงเพลง มุมนี้ไม่มีสี ไม่มีกลุ่ม............มีแต่เสียง 6/1/2016
***สวัสดีครับเพื่อนๆ ห้องราชดำเนินทุกคน***
กระทู้นี้ เป็นมุมพักผ่อน มุมนี้ไม่มีสี ไม่มีกลุ่ม.........แต่มีเสียง...................
ห้องเพลงคนรากหญ้าเปิดขึ้นมามีวัตถุประสงค์ เพื่อ
1. มีพื้นที่ให้เพื่อนๆ ได้มาพบปะ พูดคุยระหว่างกัน ในภาวะที่ต้องระมัดระวังการโพสการเมืองอย่างเคร่งครัด
2. เป็นพื้นที่ พักผ่อน ลดความเครียดทางการเมือง ให้เพื่อนๆ มีกิจกรรมสนุกๆ ร่วมกัน
3. สร้างมิตรภาพและความปรองดอง ซึ่งเราหวังให้สังคมไทยเป็นเช่นนี้ แม้นคิดต่างกัน แต่เมื่อคุยกันแล้วก็เป็นเพื่อนกันเหมือนเดิม
สวัสดีครับเพื่อนๆวันนี้เรเซอร์เอ๊กซ์รับหน้าที่เป็น MC ขอต้อนรับเพื่อนๆเข้าสู่ห้องเพลงฯของพวกเราครับ เมื่อเห็นผมก็ต้องเห็นไทม์แมชชีนเป็นของคู่กันแน่นอน เอ้า...รีบขึ้นมาเลยครับ...ไปท่องกาลเวลากันครับ
Credit:
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
วันที่ 6 ม.ค. ในอดีต
เหตุการณ์:
พ.ศ. 2380 (ค.ศ. 1838) - ซามูเอล มอร์ส ประสบความสำเร็จในการทดสอบโทรเลขเป็นครั้งแรก
First Morse Alphabet used in history
Credit: https://www.youtube.com/watch?v=y3u4Lz66uy0
พ.ศ. 2473 (ค.ศ. 1931) - โทมัส เอดิสัน จดสิทธิบัตรฉบับสุดท้ายของเขา
Thomas Alva Edison ( 1847 -- 1931 )
Credit: https://www.youtube.com/watch?v=Bc4qfMNSQ34
วันเกิด:
พ.ศ. 2426 (ค.ศ. 1883) - ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอน กวี นักเขียน และศิลปินชาวเลบานอน (ถึงแก่กรรม 10 เมษายน พ.ศ. 2474)
Kahlil Gibran's The Prophet Official Trailer
Credit: https://www.youtube.com/watch?v=h9dY5zkwK5M
พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) - โรวัน แอตคินสัน นักแสดงชาวอังกฤษ
Top 10 movies of Rowan Atkinson
Credit: https://www.youtube.com/watch?v=VLyNx0f56_U
พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) - แอนดี คาร์โรล นักฟุตบอล ชาวอังกฤษ
Goodbye Andy Carroll "10-11 Goal with the Newcastle United FC"
Credit: https://www.youtube.com/watch?v=O5aHzVPtJRU
วันสำคัญและวันหยุดเทศกาล:
วันสมโภชพระคริสต์แสดงองค์
วันนี้ในบันเทิงคดี:
วันเกิดของดันโซและเอบิโซจากนินจาคาถาโอ้โฮเฮะ
Naruto shippuden Danzo vs spies (Danzo's sharingan)
Credit: https://www.youtube.com/watch?v=yoPhr1XWtLk
วันเกิดของเชอร์ล็อก โฮล์มส์
Sherlock Holmes (2009) Official Trailer #1 - Robert Downey Jr., Jude Law Movie HD
Credit: https://www.youtube.com/watch?v=J7nJksXDBWc
ห้องเพลงคนรากหญ้า