คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 7
สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 13
อาการเห็นดวงแก้วหรือโอภาสหรือแสงสว่าง ทำให้นึกถึงคำว่า วิปัสสนูปกิเลส
อรรถกถาสามคามสูตร [บางส่วน]
ผู้มีอายุ นั่นไม่ใช่มรรค นั่นชื่อว่าวิปัสสนูปกิเลส พวกท่านไม่รู้ ท่านผู้มีอายุ พระเถระเป็นปุถุชน.
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=51#ในคำนั้นมีนัยดังต่อไปนี้
คำว่า วิปัสสนูปกิเลส
http://84000.org/tipitaka/dic/d_seek.php?text=วิปัสสนูปกิเลส
หมวดหนังสือธรรมะ
เรื่อง ศีลเป็นอาภรณ์อันประเสริฐ
http://84000.org/tipitaka/book/bookpn02.html
เรื่อง ทานที่มีผลมาก มีอานิสงส์มาก
http://84000.org/tipitaka/book/bookpn01.html
แนะนำ :-
อ่านและค้นพระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม
อรรถกถาชาดกทั้งหมด ๕๔๗ เรื่อง
พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
สารบัญประเภทธรรม
http://84000.org/tipitaka/dic/d_type_index.php
หมวดหนังสือธรรมะ
http://84000.org/tipitaka/book/
เรื่อง ศีลเป็นอาภรณ์อันประเสริฐ
http://84000.org/tipitaka/book/bookpn02.html
เรื่อง สิ่งที่เป็นมงคล (มงคล ๓๘)
http://84000.org/tipitaka/book/bookpn06.html
เรื่อง ทานที่มีผลมาก มีอานิสงส์มาก
http://84000.org/tipitaka/book/bookpn01.html
อรรถกถาสามคามสูตร [บางส่วน]
ผู้มีอายุ นั่นไม่ใช่มรรค นั่นชื่อว่าวิปัสสนูปกิเลส พวกท่านไม่รู้ ท่านผู้มีอายุ พระเถระเป็นปุถุชน.
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=51#ในคำนั้นมีนัยดังต่อไปนี้
คำว่า วิปัสสนูปกิเลส
http://84000.org/tipitaka/dic/d_seek.php?text=วิปัสสนูปกิเลส
หมวดหนังสือธรรมะ
เรื่อง ศีลเป็นอาภรณ์อันประเสริฐ
http://84000.org/tipitaka/book/bookpn02.html
เรื่อง ทานที่มีผลมาก มีอานิสงส์มาก
http://84000.org/tipitaka/book/bookpn01.html
แนะนำ :-
อ่านและค้นพระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม
อรรถกถาชาดกทั้งหมด ๕๔๗ เรื่อง
พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
สารบัญประเภทธรรม
http://84000.org/tipitaka/dic/d_type_index.php
หมวดหนังสือธรรมะ
http://84000.org/tipitaka/book/
เรื่อง ศีลเป็นอาภรณ์อันประเสริฐ
http://84000.org/tipitaka/book/bookpn02.html
เรื่อง สิ่งที่เป็นมงคล (มงคล ๓๘)
http://84000.org/tipitaka/book/bookpn06.html
เรื่อง ทานที่มีผลมาก มีอานิสงส์มาก
http://84000.org/tipitaka/book/bookpn01.html
แสดงความคิดเห็น
☆ บาลีวันละคำ ... ธมฺมกาย ☆
อ่านว่า ทำ-มะ-กา-ยะ
ในภาษาไทยใช้ว่า “ธรรมกาย” อ่านว่า ทำ-มะ-กาย
“ธมฺมกาย-ธรรมกาย” ประกอบด้วยคำว่า ธมฺม + กาย
(ดูความหมายเฉพาะคำที่คำนั้น)
ความหมายที่ถูกต้องของคำว่า “ธรรมกาย” ควรทำความเข้าใจตามคำอธิบายต่อไปนี้ -
1 “ธรรมกาย” หมายถึง “ผู้มีธรรมเป็นกาย” เป็นพระนามอย่างหนึ่งของพระพุทธเจ้า (ตามความในอัคคัญญสูตร แห่งทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค)
หมายความว่า พระองค์ทรงคิดพุทธพจน์คำสอนด้วยพระหทัยแล้วทรงนำออกเผยแพร่ด้วยพระวาจา เป็นเหตุให้พระองค์ก็คือพระธรรม
เพราะทรงเป็นแหล่งที่ประมวลหรือที่ประชุมอยู่แห่งพระธรรมอันปรากฏเปิดเผยออกมาแก่ชาวโลก
2 “ธรรมกาย” หมายถึง “กองธรรม” หรือ “ชุมนุมแห่งธรรม” ธรรมกายย่อมเจริญงอกงามเติบขยายขึ้นได้โดยลำดับจนไพบูลย์
ในบุคคลผู้เมื่อได้สดับคำสอนของพระองค์แล้วฝึกอบรมตนด้วยไตรสิกขา เจริญมรรคาให้บรรลุภูมิแห่งอริยชน
ดังตัวอย่างดำรัสของพระมหาปชาบดีโคตมี เมื่อครั้งกราบทูลลาพระพุทธเจ้าเพื่อปรินิพพาน ตามความในคัมภีร์อปทานตอนหนึ่งว่า -
“ข้าแต่พระสุคตเจ้า หม่อมฉันเป็นมารดาของพระองค์, ข้าแต่พระธีรเจ้า พระองค์ก็เป็นพระบิดาของหม่อมฉัน ...
รูปกายของพระองค์นี้ หม่อมฉันได้ทำให้เจริญเติบโต ส่วนธรรมกายอันเป็นที่เอิบสุขของหม่อมฉัน ก็เป็นสิ่งอันพระองค์ได้ทำให้เจริญเติบโต”
“ธรรมกาย” ในความหมายหลังนี้ ก็คือโลกุตรธรรม 9 หรืออริยสัจ
อัคคัญญสูตร
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=11&A=1703&Z=2129&pagebreak=0
มหาปชาบดีโคตมีเถริยาปทานที่ ๗ ว่าด้วยบุพจริยาของพระมหาปชาบดีโคตมีเถรี
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=33&A=4471&Z=4887&pagebreak=0
ธรรมกาย
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/tipitaka_seek.php?text=%B8%C3%C3%C1%A1%D2%C2&book=1&bookZ=45
http://www.84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=ธรรมกาย
ที่มา บาลีวันละคำ โดยนาวาเอกทองย้อย แสงสินชัย
ความหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน
สิ่งที่พระองค์ไม่นำมาสอนนั้น ไม่เป็นไปเพื่อ
ความหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน
ถ้าหากจะมีธรรมที่นอกเหนือไปจากที่พระพุทธองค์ทรงแสดง ก็เท่ากับว่า
ธรรมนั้นไม่เป็นไปเพื่อความหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน