สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 1
ดวงดาวกับพระอาทิตย์ก็คือ ดาวฤกษ์ที่ส่องแสงเหมือนกัน แต่ต่างกันที่ขนาดใช่ไหมครับ เลยให้ความสว่างไม่เท่ากัน
ประเภทที่ว่ามีส่วนประกอบของไฮโดรเจนและฮีเลียมเหมือนกันน่ะครับ
ใช่แล้วครับ ดาวฤกษ์ในแกแลคซี่เรา นั้น มีหลากหลายขนาด และ ความสว่างตั้งแต่กำเนิดขึ้นมา
กล่าวคือ ดาวดวงนึงมิใช่ว่าเกิดมาดวงเล็ก ๆ .... แล้วค่อย ๆ ใหญ่ขึ้น สว่างขึ้น แต่มันจะกำเนิดมาด้วยขนาด
และ ความสว่าง ที่เป็นแบบนั้นตั้งแต่แรก และจะคงที่ไปแบบนั้นยาวนานนนนน ไปตลอดชีวิตลำดับหลักของมันเอง
ดาวฤกษ์ที่กำเนิดมาใหญ่-เล็ก สว่างมาก-น้อยต่างกันนี้ เราเรียกว่า Stellar classification ครับ จะแบ่งออกเป็น 7 Class (Spectral)
โดยที่ดาวฤกษ์ทุกดวงจะมีโครงสร้างภายในเหมือนกัน มีการเกิดปฏิกิริยา Fusion จาก Hydrogen ไปเป็น Helium เหมือนกัน
นี่คือการแบ่ง 7 Class ของดาวฤกษ์ครับ จากภาพนี้ ดาวฤกษ์จะมี 7 Spectral
ไล่จากใหญ่ไปหาเล็ก คือ O B A F G K และ M (ดวงอาทิตย์เรา คือ G)
(Abundance คือ ปริมาณที่พบได้ % น้อย ๆ คือไม่ค่อยพบเจอเท่าไหร่)
ประเภทที่ว่ามีส่วนประกอบของไฮโดรเจนและฮีเลียมเหมือนกันน่ะครับ
ใช่แล้วครับ ดาวฤกษ์ในแกแลคซี่เรา นั้น มีหลากหลายขนาด และ ความสว่างตั้งแต่กำเนิดขึ้นมา
กล่าวคือ ดาวดวงนึงมิใช่ว่าเกิดมาดวงเล็ก ๆ .... แล้วค่อย ๆ ใหญ่ขึ้น สว่างขึ้น แต่มันจะกำเนิดมาด้วยขนาด
และ ความสว่าง ที่เป็นแบบนั้นตั้งแต่แรก และจะคงที่ไปแบบนั้นยาวนานนนนน ไปตลอดชีวิตลำดับหลักของมันเอง
ดาวฤกษ์ที่กำเนิดมาใหญ่-เล็ก สว่างมาก-น้อยต่างกันนี้ เราเรียกว่า Stellar classification ครับ จะแบ่งออกเป็น 7 Class (Spectral)
โดยที่ดาวฤกษ์ทุกดวงจะมีโครงสร้างภายในเหมือนกัน มีการเกิดปฏิกิริยา Fusion จาก Hydrogen ไปเป็น Helium เหมือนกัน
นี่คือการแบ่ง 7 Class ของดาวฤกษ์ครับ จากภาพนี้ ดาวฤกษ์จะมี 7 Spectral
ไล่จากใหญ่ไปหาเล็ก คือ O B A F G K และ M (ดวงอาทิตย์เรา คือ G)
(Abundance คือ ปริมาณที่พบได้ % น้อย ๆ คือไม่ค่อยพบเจอเท่าไหร่)
แสดงความคิดเห็น
ดวงดาวกับพระอาทิตย์ก็คือ ดาวฤกษ์ที่ส่องแสงเหมือนกัน แต่ต่างกันที่ขนาดใช่ไหมครับ เลยให้ความสว่างไม่เท่ากัน
ขอบคุณครับ