สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 17
การสร้างระเบิดนิวเคลีย์ หลักการง่ายมากๆ
จากสมการ E=mc2 ก้คือ พลังงาน = มวล x ความเร็วแสง ยกกำลัง 2
ลำพังความเร็วแสง 300,000,000 m/s ก็มากโขอยู่แล้ว ยังเอามายกำลังสองอีก
แล้วธาตุไหนที่ทำให้แตกตัวง่ายที่สุด มันคือ ยูเรเนียม
ยูเรเนียมที่ปั่นเสริมสมรรถภาพ จนดีแล้ว มันจะไม่เสถียร์ถ้า ปริมาตรเกินค่าวิกฤติ
สมมติว่า ถ้ามีอยู่ 90 กรัมมันจะไม่ระเบิดแต่ถ้าค่าวิกฤคิคือ 91 มันจะไม่เสถียรและให้แตกตัว วิธีง่ายๆ ของหัวรบนิวเคลียคือ ในระเบิดมียูเรเนียม 2 ก้อน ก้อนที่ 1 หนัก 90 ก้อนที่ 2 หนัก 1
เวลาจะระเบิด ก็ง่ายๆ เอาไอ้ 1 ไปชน 90 ก็จะระเบิดออกมาก ตามทฤษฎี E=mc2
ข้อยากคือ การเสริมสมรรถภาพยูเรเนียม ครับ
จากสมการ E=mc2 ก้คือ พลังงาน = มวล x ความเร็วแสง ยกกำลัง 2
ลำพังความเร็วแสง 300,000,000 m/s ก็มากโขอยู่แล้ว ยังเอามายกำลังสองอีก
แล้วธาตุไหนที่ทำให้แตกตัวง่ายที่สุด มันคือ ยูเรเนียม
ยูเรเนียมที่ปั่นเสริมสมรรถภาพ จนดีแล้ว มันจะไม่เสถียร์ถ้า ปริมาตรเกินค่าวิกฤติ
สมมติว่า ถ้ามีอยู่ 90 กรัมมันจะไม่ระเบิดแต่ถ้าค่าวิกฤคิคือ 91 มันจะไม่เสถียรและให้แตกตัว วิธีง่ายๆ ของหัวรบนิวเคลียคือ ในระเบิดมียูเรเนียม 2 ก้อน ก้อนที่ 1 หนัก 90 ก้อนที่ 2 หนัก 1
เวลาจะระเบิด ก็ง่ายๆ เอาไอ้ 1 ไปชน 90 ก็จะระเบิดออกมาก ตามทฤษฎี E=mc2
ข้อยากคือ การเสริมสมรรถภาพยูเรเนียม ครับ
แสดงความคิดเห็น
E=mc² ทำไม ? คนเข้าใจผิดว่าสมการนี้เอาไว้สร้างระเบิดปรมาณู หรอครับ
ความเฉื่อย ที่ไอน์สไตน์ตีพิมพ์ในปี 1905 สมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมวลสารและพลังงานผ่านแฟคเตอร์ c^2 เท่านั้นเอง
ดังนั้นการบอกว่าสมการนี้คือสมการสร้างระเบิดนิวเคลียร์จึงผิดจุดประสงค์หลักที่สมการสื่อ
.
สมการ E=mc2 เป็นการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมวลกับพลังงาน คือเมื่อมวลสลายไปทั้งหมด จะเกิดพลังงานมีค่าเท่ากับมวลที่สลายไปคูณด้วยความเร็วแสงยกกำลัง 2 แปลตรงๆว่าถ้าสสารสามารถเปลี่ยนตัวเองให้กลายเป็นพลังงานได้หมด 100% แล้ว พลังงานที่ได้(e) จะมีค่าเท่ากับมวล(m) ของสสารนั้นคูณกับค่าความเร็วแสง(c = 300,000,000 m/s) ยกกำลังสอง นั่นคือสสารที่มีมวล 1 กิโลกรัม สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานได้ทั้งหมด 9x10^16 จูล หรือ เก้าสิบล้าน กิกะจูล โดยการประมาณพลังงานที่จะได้ จากการเปลี่ยนเชื้อเพลิงยูเรเนียม ให้กลายเป็นความร้อน