สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 17
ความคิดเห็นที่ 15
ผมไม่เห็นปัญหาของการแปลให้ต่างไป
อีกนัยหนึ่ง ผมเห็นว่าการแปลให้ต่างไปจากของเดิมไม่เป็นปัญหา
เพราะถ้าหากถูกหลักการ สังคมก็จะได้สิ่งที่ดีขึ้นกว่าเดิม
sandthorn
4 ชั่วโมงที่แล้ว
***
ตัวอย่าง
... สกิเทว ปญฺจ กฏฺสตานิ ผาลิยึสุ ฯ
...(ชฎิลทั้งหลาย) ได้ผ่าฟืน ๕๐๐ ท่อนคราวเดียวเท่านั้น..
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/r.php?B=4&A=1101&w=%A4%C3%D2%C7%E0%B4%D5%C2%C7
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali.php?B=4&A=46&Z=55
*****
หรือ ควรแปลแบบไม่ต้องใช้หลักบาลี !
แต่ใช้หลักแกะเทียบ อิสระ
ปล่อยให้สังคมตัดสินเอาเอง ว่าถูกหรือผิด เช่น
... สกิเทว ปญฺจ กฏฺสตานิ ผาลิยึสุ ฯ
แปล แบบหลักแกะเทียบ ..!!
...ชฎิลทั้งหลาย ได้ผ่าฟืน ๕๐๐ ท่อนเทวดาคราวเดียว เท่านั้น..
sandthorn--->เพราะถ้าหากถูกหลักการ สังคมก็จะได้สิ่งที่ดีขึ้นกว่าเดิม<---sandthorn
----
กรณี สกิเทว การแปลของพระคึกฤทธิ์ ถูกหลักการไหม
ผมไม่เห็นปัญหาของการแปลให้ต่างไป
อีกนัยหนึ่ง ผมเห็นว่าการแปลให้ต่างไปจากของเดิมไม่เป็นปัญหา
เพราะถ้าหากถูกหลักการ สังคมก็จะได้สิ่งที่ดีขึ้นกว่าเดิม
sandthorn
4 ชั่วโมงที่แล้ว
***
ตัวอย่าง
... สกิเทว ปญฺจ กฏฺสตานิ ผาลิยึสุ ฯ
...(ชฎิลทั้งหลาย) ได้ผ่าฟืน ๕๐๐ ท่อนคราวเดียวเท่านั้น..
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/r.php?B=4&A=1101&w=%A4%C3%D2%C7%E0%B4%D5%C2%C7
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali.php?B=4&A=46&Z=55
*****
หรือ ควรแปลแบบไม่ต้องใช้หลักบาลี !
แต่ใช้หลักแกะเทียบ อิสระ
ปล่อยให้สังคมตัดสินเอาเอง ว่าถูกหรือผิด เช่น
... สกิเทว ปญฺจ กฏฺสตานิ ผาลิยึสุ ฯ
แปล แบบหลักแกะเทียบ ..!!
...ชฎิลทั้งหลาย ได้ผ่าฟืน ๕๐๐ ท่อนเทวดาคราวเดียว เท่านั้น..
sandthorn--->เพราะถ้าหากถูกหลักการ สังคมก็จะได้สิ่งที่ดีขึ้นกว่าเดิม<---sandthorn
----
กรณี สกิเทว การแปลของพระคึกฤทธิ์ ถูกหลักการไหม
ความคิดเห็นที่ 25
https://www.youtube.com/watch?v=uP-SGKnV-Dk&feature=youtu.be
คำต่อคำ คึกฤทธิ์ ต่อกรณีการเรียนบาลี
พระคึกฤทธิ์: ไม่มีอะไรโยม เก่งบาลี เค้ามีอะไรเป็นเกนฑ์ เกณฑ์ที่เขามีก็เป็นเกณฑ์ที่ตั้งขึ้น เปรียญ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ มันตั้งขึ้นมาหมดน่ะ มีมั้ยล่ะ สารีบุตรได้ เปรียญ ๙ รึยัง (สังเกตว่า มีหลายครั้ง ที่เอ่ยนามพระสารีบุตรโดยเรียกชื่อเฉยๆ - ผู้โพส) ก็ไม่น่ะโยม ใช่มะ ทำไมไม่พูดหลักการพระศาสดา การเชื่อมธรรมะพระศาสดา ในเมื่อเค้าศึกษาอรรถกถา หลักการนี้เค้าใช้ไม่ได้ เค้าจะไม่มีใช้หลักการนี้ เพราะหลักการนี้ใช้ได้กับคำของสัมมาสัมพุทธะผู้เดียวเท่านั้นในโลก เมื่อหลักการนี้ใช้ไม่เป็น ใช้ไม่ได้ เพราะเนื้อหาที่เขาศึกษามันไม่ใช่เนื้อหาของสัมมาสัมพุทธะ มันไม่สามารถเอามาเชื่อม มาเทียบเคียง เอ๊ ทิฏฐิ ๖๒ อาจารย์นั้นพูดยังไง หลวงปู่นั้นพูดยังไง ไม่สามารถหาได้ นะ สาวกแต่ละคนพูดไม่ครบ และการปรุงแต่ขึ้นมาเอง ม้น ไม่ได้ ระดับพระพุทธเจ้า ต้องกำหนดสมาธิทุกครั้ง ในการพูด แล้วสาวกทำได้มั้ย สิบพระสูตรไม่แน่น เมื่อสิบพระสูตรไม่แน่นเนี่ย มันก็เซ เซไปหาคำสาวกไง ถ้าสิบพระสูตรแน่ชัด คำสาวกมันจะหมดราคาไปทันที นั่นคือ เค้าต้องย้อนไปหาคำสิบพระสูตรใหม่ ว่าเค้าเนี่ย ไม่เชื่อความสามารถพระพุทธเจ้า ว่าเค้าเนี่ย ไม่แน่น ไม่มั่นคง ใช่ม้า เรื่องมันง่ายๆ สาวกคนใดล่ะ กำหนดสมาธิได้ พุดสอดรับไม่ขัดแย้งกัน พูดเป็นอกาลิโก ก็ไม่มีอยู่แล้ว ใช่มะ อย่างเนี่ย
ตอบคึกฤทธิ์ทุกประเด็น ดังนี้
- เมื่อผู้ถาม ถามว่า คนเก่งบาลีเป็นอย่างไร ก็ควรตอบด้วยหลักการด้านภาษาศาสตร์ว่า คนเก่งด้านภาษาไม่ว่าจะภาษาอะไร จะต้องเป็นผู้ ฟังเข้าใจ พูดได้ อ่านออก เขียนได้ แปลเป็น
แต่ที่คึกฤทธิ์ไม่ตอบแบบนั้น เป็นเพราะตนเองฟังไม่เข้าใจ พูดไม่ได้ อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ แปลไม่เป็น
- พระสารีบุตร (คึกฤทธิ์เรียกว่าสารีบุตร) ไม่ต้องเรียนเปรียญ 1-9 เพราะท่านเป็นเจ้าของภาษา เกิดในขณะที่ใช้ภาษามคธ (บาลี) เป็นภาษาแม่อยู่แล้ว
- หลักเกณฑ์การวัดความเก่งด้านภาษา เป็นหลักเกณฑ์สากลทั่วโลกที่ใช้กันอยู่ และเป็นสัจจะคือเป็นความจริง ไม่จำเพาะแต่ภาษาบาลี
- การเชื่อมพระสูตรด้วยวิธีการของคึกฤทธิ์ จะถูกหรือผิด พระพุทธเจ้าไม่ได้รับรอง ไม่มีพุทธวจนะรับรองการเชื่อมพระสูตรของคึกฤทธิ์ การเชื่อมพระสูตรของคึกฤทธิ์จึงเป็นความคิดเห็นส่วนบุคคล จะไปบอกว่าตนเชื่อมถูกไม่ได้
- สิบพระสูตร ที่เกิดจากการแต่งเองขึ้นใหม่ของคึกฤทธิ์ ไม่สอดรับกับคำสอนของพระพุทธเจ้า ผิดทั้งอรรถ ทั้งพยัญชนะและความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง ไม่มีพุทธวจนะรับรองความถูกต้องของแนวคิดสิบพระสูตรของคึกฤทธิ์
- การแปลพระไตรปิฎก หรือพจนานุกรมภาษาบาลีที่คึกฤทธิ์นำมาอ้างใช้ ล้วนเกิดจากการแปลตามอรรถกถา
- พุทธวจนะที่คึกฤทธิ์ยึดถือ ล้วนผ่านการทรงจำของพระสาวกรุ่นต่อรุ่นมาแล้วสองพันกว่าปี จึงทำให้พระพุทธศาสนายืนยงอยู่ได้ในหลายประเทศทั่วโลก
- ความเข้าใจว่าผู้ที่ศึกษาทั้งพระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา เป็นผู้ที่ไม่เชื่อความสามารถของพระพุทธเจ้า เกิดจากความคิดผิด เข้าใจผิดของคึกฤทธิ์เอง เพราะทุกคนล้วนแต่อ้างคำพระพุทธเจ้าและสามารถนำคำพระพุทธเจ้ามาชี้ความบิดเบือนของคึกฤทธิ์ได้อย่างชัดเจน จนคึกฤทธิ์เถียงไม่ออก และไม่กล้ามาดีเบทกับใคร
- คนที่ไม่มั่นคงในพระพุทธเจ้าคือคึกฤทธิ์ ดังนั้น คึกฤทธิ์จึงมักอธิบายความหมายของพระพุทธวจนะให้ผิดไปจากพุทธประสงค์เสมอ
ตอบ โดย อาจารย์ณัฐนันท์ สุดประเสริฐ (หนอนพระไตรปิฎก)
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=10204722469133998&id=1604870167
คำต่อคำ คึกฤทธิ์ ต่อกรณีการเรียนบาลี
พระคึกฤทธิ์: ไม่มีอะไรโยม เก่งบาลี เค้ามีอะไรเป็นเกนฑ์ เกณฑ์ที่เขามีก็เป็นเกณฑ์ที่ตั้งขึ้น เปรียญ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ มันตั้งขึ้นมาหมดน่ะ มีมั้ยล่ะ สารีบุตรได้ เปรียญ ๙ รึยัง (สังเกตว่า มีหลายครั้ง ที่เอ่ยนามพระสารีบุตรโดยเรียกชื่อเฉยๆ - ผู้โพส) ก็ไม่น่ะโยม ใช่มะ ทำไมไม่พูดหลักการพระศาสดา การเชื่อมธรรมะพระศาสดา ในเมื่อเค้าศึกษาอรรถกถา หลักการนี้เค้าใช้ไม่ได้ เค้าจะไม่มีใช้หลักการนี้ เพราะหลักการนี้ใช้ได้กับคำของสัมมาสัมพุทธะผู้เดียวเท่านั้นในโลก เมื่อหลักการนี้ใช้ไม่เป็น ใช้ไม่ได้ เพราะเนื้อหาที่เขาศึกษามันไม่ใช่เนื้อหาของสัมมาสัมพุทธะ มันไม่สามารถเอามาเชื่อม มาเทียบเคียง เอ๊ ทิฏฐิ ๖๒ อาจารย์นั้นพูดยังไง หลวงปู่นั้นพูดยังไง ไม่สามารถหาได้ นะ สาวกแต่ละคนพูดไม่ครบ และการปรุงแต่ขึ้นมาเอง ม้น ไม่ได้ ระดับพระพุทธเจ้า ต้องกำหนดสมาธิทุกครั้ง ในการพูด แล้วสาวกทำได้มั้ย สิบพระสูตรไม่แน่น เมื่อสิบพระสูตรไม่แน่นเนี่ย มันก็เซ เซไปหาคำสาวกไง ถ้าสิบพระสูตรแน่ชัด คำสาวกมันจะหมดราคาไปทันที นั่นคือ เค้าต้องย้อนไปหาคำสิบพระสูตรใหม่ ว่าเค้าเนี่ย ไม่เชื่อความสามารถพระพุทธเจ้า ว่าเค้าเนี่ย ไม่แน่น ไม่มั่นคง ใช่ม้า เรื่องมันง่ายๆ สาวกคนใดล่ะ กำหนดสมาธิได้ พุดสอดรับไม่ขัดแย้งกัน พูดเป็นอกาลิโก ก็ไม่มีอยู่แล้ว ใช่มะ อย่างเนี่ย
ตอบคึกฤทธิ์ทุกประเด็น ดังนี้
- เมื่อผู้ถาม ถามว่า คนเก่งบาลีเป็นอย่างไร ก็ควรตอบด้วยหลักการด้านภาษาศาสตร์ว่า คนเก่งด้านภาษาไม่ว่าจะภาษาอะไร จะต้องเป็นผู้ ฟังเข้าใจ พูดได้ อ่านออก เขียนได้ แปลเป็น
แต่ที่คึกฤทธิ์ไม่ตอบแบบนั้น เป็นเพราะตนเองฟังไม่เข้าใจ พูดไม่ได้ อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ แปลไม่เป็น
- พระสารีบุตร (คึกฤทธิ์เรียกว่าสารีบุตร) ไม่ต้องเรียนเปรียญ 1-9 เพราะท่านเป็นเจ้าของภาษา เกิดในขณะที่ใช้ภาษามคธ (บาลี) เป็นภาษาแม่อยู่แล้ว
- หลักเกณฑ์การวัดความเก่งด้านภาษา เป็นหลักเกณฑ์สากลทั่วโลกที่ใช้กันอยู่ และเป็นสัจจะคือเป็นความจริง ไม่จำเพาะแต่ภาษาบาลี
- การเชื่อมพระสูตรด้วยวิธีการของคึกฤทธิ์ จะถูกหรือผิด พระพุทธเจ้าไม่ได้รับรอง ไม่มีพุทธวจนะรับรองการเชื่อมพระสูตรของคึกฤทธิ์ การเชื่อมพระสูตรของคึกฤทธิ์จึงเป็นความคิดเห็นส่วนบุคคล จะไปบอกว่าตนเชื่อมถูกไม่ได้
- สิบพระสูตร ที่เกิดจากการแต่งเองขึ้นใหม่ของคึกฤทธิ์ ไม่สอดรับกับคำสอนของพระพุทธเจ้า ผิดทั้งอรรถ ทั้งพยัญชนะและความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง ไม่มีพุทธวจนะรับรองความถูกต้องของแนวคิดสิบพระสูตรของคึกฤทธิ์
- การแปลพระไตรปิฎก หรือพจนานุกรมภาษาบาลีที่คึกฤทธิ์นำมาอ้างใช้ ล้วนเกิดจากการแปลตามอรรถกถา
- พุทธวจนะที่คึกฤทธิ์ยึดถือ ล้วนผ่านการทรงจำของพระสาวกรุ่นต่อรุ่นมาแล้วสองพันกว่าปี จึงทำให้พระพุทธศาสนายืนยงอยู่ได้ในหลายประเทศทั่วโลก
- ความเข้าใจว่าผู้ที่ศึกษาทั้งพระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา เป็นผู้ที่ไม่เชื่อความสามารถของพระพุทธเจ้า เกิดจากความคิดผิด เข้าใจผิดของคึกฤทธิ์เอง เพราะทุกคนล้วนแต่อ้างคำพระพุทธเจ้าและสามารถนำคำพระพุทธเจ้ามาชี้ความบิดเบือนของคึกฤทธิ์ได้อย่างชัดเจน จนคึกฤทธิ์เถียงไม่ออก และไม่กล้ามาดีเบทกับใคร
- คนที่ไม่มั่นคงในพระพุทธเจ้าคือคึกฤทธิ์ ดังนั้น คึกฤทธิ์จึงมักอธิบายความหมายของพระพุทธวจนะให้ผิดไปจากพุทธประสงค์เสมอ
ตอบ โดย อาจารย์ณัฐนันท์ สุดประเสริฐ (หนอนพระไตรปิฎก)
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=10204722469133998&id=1604870167
ความคิดเห็นที่ 19
ความคิดเห็นที่ 15
ผมไม่เห็นปัญหาของการแปลให้ต่างไป
อีกนัยหนึ่ง ผมเห็นว่าการแปลให้ต่างไปจากของเดิมไม่เป็นปัญหา
เพราะถ้าหากถูกหลักการ สังคมก็จะได้สิ่งที่ดีขึ้นกว่าเดิม
sandthorn
5 ชั่วโมงที่แล้ว
***
ตัวอย่าง
... สกิเทว ปญฺจ กฏฺสตานิ ผาลิยึสุ ฯ
...(ชฎิลทั้งหลาย) ได้ผ่าฟืน ๕๐๐ ท่อนคราวเดียวเท่านั้น..
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/r.php?B=4&A=1101&w=%A4%C3%D2%C7%E0%B4%D5%C2%C7
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali.php?B=4&A=46&Z=55
*****
หรือ ควรแปลแบบไม่ต้องใช้หลักบาลี !
แต่ใช้หลักแกะเทียบ อิสระ
ปล่อยให้สังคมตัดสินเอาเอง ว่าถูกหรือผิด เช่น
... สกิเทว ปญฺจ กฏฺสตานิ ผาลิยึสุ ฯ
แปล แบบหลักแกะเทียบ ..!!
...ชฎิลทั้งหลาย ได้ผ่าฟืน ๕๐๐ ท่อนเทวดาคราวเดียว เท่านั้น..
sandthorn--->อีกนัยหนึ่ง ผมเห็นว่าการแปลให้ต่างไปจากของเดิมไม่เป็นปัญหา<---sandthorn
----
กรณี สกิเทว การแปลของพระคึกฤทธิ์ เป็นปัญหา ต่อผู้ศึกษาพระธรรม พระไตรปิฏก ไหม
ผมไม่เห็นปัญหาของการแปลให้ต่างไป
อีกนัยหนึ่ง ผมเห็นว่าการแปลให้ต่างไปจากของเดิมไม่เป็นปัญหา
เพราะถ้าหากถูกหลักการ สังคมก็จะได้สิ่งที่ดีขึ้นกว่าเดิม
sandthorn
5 ชั่วโมงที่แล้ว
***
ตัวอย่าง
... สกิเทว ปญฺจ กฏฺสตานิ ผาลิยึสุ ฯ
...(ชฎิลทั้งหลาย) ได้ผ่าฟืน ๕๐๐ ท่อนคราวเดียวเท่านั้น..
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/r.php?B=4&A=1101&w=%A4%C3%D2%C7%E0%B4%D5%C2%C7
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali.php?B=4&A=46&Z=55
*****
หรือ ควรแปลแบบไม่ต้องใช้หลักบาลี !
แต่ใช้หลักแกะเทียบ อิสระ
ปล่อยให้สังคมตัดสินเอาเอง ว่าถูกหรือผิด เช่น
... สกิเทว ปญฺจ กฏฺสตานิ ผาลิยึสุ ฯ
แปล แบบหลักแกะเทียบ ..!!
...ชฎิลทั้งหลาย ได้ผ่าฟืน ๕๐๐ ท่อนเทวดาคราวเดียว เท่านั้น..
sandthorn--->อีกนัยหนึ่ง ผมเห็นว่าการแปลให้ต่างไปจากของเดิมไม่เป็นปัญหา<---sandthorn
----
กรณี สกิเทว การแปลของพระคึกฤทธิ์ เป็นปัญหา ต่อผู้ศึกษาพระธรรม พระไตรปิฏก ไหม
แสดงความคิดเห็น
โปรดระวัง !! มีคำไม่ตรงต้นฉบับ ในแอป E-Tipitaka
พระคึกฤทธิ์ "ค้นพบ" ว่า สกิเทว อิมํ โลกํ อาคนฺตฺวา
ต้องแปลว่า มาสู่เทวโลกนี้อีกครั้งเดียว
ที่ใช้คำว่า "ค้นพบ" เพราะเป็นคิดค้นคำแปลแบบนี้ใหม่ เป็นคนแรก
ซึ่งไม่ตรงกับ หลักการแปลบาลีไวยากรณ์ที่ คณาจารย์สอนบาลีไม่เคยสอนที่ใดมาก่อน
จึงได้ไปค้นว่า จริงตามข่าวที่ว่าหรือไม่
ในชั้นแรก คำว่า สกิเทว แปลอย่างไร เชิญอ่าน
หนังสือ "รู้จักพระไตรปิฏก ให้ชัด ให้ตรง "
http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/know_the_pali_canon_clearly_and_correctly.pdf
ได้อธิบายความหมาย รวมทั้งการแปล คำว่า สกิเทว ไว้ที่หน้า 65-68
นำสรุปหน้า 68 มาให้อ่าน ดังนี้
หนังสือ อริยสัจ จากพระโอษฐ์ ภาคต้น หน้า ๕๖๖ ใช้คำว่า "ยังจะมาสู่โลกนี้อีกครั้งเดียวเท่านั้น"
ซึ่งตรงตามหลักบาลีไวยากรณ์
http://www.buddhadasa.org/files/pdf/B_pdf/t/t43.pdf
ส่วนใน แอปพุทธวจหมวดธรรม เปลี่ยนข้อความจาก "ยังจะมาสู่โลกนี้อีกครั้งเดียวเท่านั้น"
เป็น "ยังจะมาสู่เทวโลกนี้อีกครั้งเดียวเท่านั้น"
http://etipitaka.com/read/thaipb/2/147/?keywords=%E0%B8%A2%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B9%89
ดังนั้น ที่พระคึกฤทธิ์บอกว่าลอกแบบก๊อปปี้ มาจาก "ชุดหนังสือ 5 เล่ม ของสำนักธรรมโฆษณ์(พุทธทาส)"
แต่จริงๆ แล้วมีการแก้ไข เนื้อความ คำแปล ที่ไม่ตรงกับต้นฉบับ ซึ่งมีการแสดงออกสื่อโซเชียลมาได้ระยะหนึ่งแล้ว
ตัวเองก็รอฟังว่า ทางวัดจะมีการแก้ไขอย่างไรหรือไม่
การแปลผิด copy ผิด อาจเกิดขึ้นได้ เมื่อผิดก็แก้ไขตามธรรม
แต่ถ้าไม่แก้ไข ก็เป็นการบิดเบือน ที่ไม่ซื่อตรงทั้งต่อพระธรรม ต่อหนังสือต้นฉบับที่ใช้ และต่อผู้อ่าน เป็นความเสียหายต่อ วงการการศึกษาธรรมะโดยรวม
จึงนำเสนอมาไว้ ให้เพื่อนสมาชิกได้ทราบว่า การค้นคว้า บางครั้งต้องค้นหาจากหลายแหล่ง อย่าปักใจว่า แหล่งใดเท่านั้นใช่ แหล่งอื่นเปล่า
ด้วยความขอบคุณ