ผู้ประกอบการทางวิทยาศาสตร์ช่วยพัฒนาความเจริญก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์ไทย(หรือไม่)
ประเทศไทยมีความล้าหลังทางด้านวิทยาศาสตร์อย่างมาก แต่สิ่งที่ประเทศไทยทำคือ การปั้มนักวิทยาศาสตร์ออกมาเป็นจำนวนมาก แต่การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ไทยก็ยังไม่ไปไหนเกิดอะไรขึ้น
ก่อนยุคโทมัส เอดิสัน
ในสมัยก่อนเมื่อผู้คนต้องเผชิญกับความมืด อาจใช้ไฟจากแสงเทียน ตะเกียง หรือ คบไฟ เพื่อให้แสงสว่าง
ยุคโทมัส เอดิสัน (ผู้ประกอบการทางวิทยาศาสตร์)
โทมัส เอดิสัน ไม่เพียงแต่ประดิษฐ์หลอดไฟได้ แต่โทมัส เอดิสัน ยังเป็นผู้ประกอบการ มีการก่อตั้งบริษัท จ้างผู้มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาช่วยงาน ซึ่งน่าจะเป็นสาเหตุที่สามารถสร้างสิ่งประดิษฐ์ได้มากมาย และ ที่สำคัญ เขาใช้บริษัทของเขากระจายแสงสว่างจากหลอดไฟในห้องทดลองสู่บ้านเรือนประชาชนทั่วๆไป
เชื่อมั่นและศรัทธา
ประชาชนจากที่เคยมีแสงสว่างใช้ไม่เพียงพอ กลับมีหลอดไฟฟ้าใช้ได้อย่างทั่วไป ทำให้ประชาชนเริ่มเชื่อในใจว่า วิทยาศาสตร์ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตได้
ปัจจุบันบริษัทที่เอดิสันก่อตั้งกลายเป็นบริษัทเจเนอรัลอิเล็กทริก (General Electric) บริษัทเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดใหญ่ของโลก ก่อให้เกิดการจ้างงานและช่วยเศรษฐกิจขับเคลื่อนไปได้
ยุค Microsoft (บิล เกตส์ เป็น ผู้ประกอบการทางวิทยาศาสตร์)
เป็นบริษัทที่นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ด้านไอที มาสร้างเป็น OS จ้างนักวิทยาศาสตร์และวิศวกร(โดยเฉพาะด้านไอที) มาร่วมงาน ก่อให้เกิดการจ้างงานและช่วยเศรษฐกิจขับเคลื่อนไปได้
บิล เกตส์ อาจจะเก่งกว่าอาจารย์หรือไม่ ไม่รู้ แต่เขาเลือกทำในสิ่งที่อาจารย์ไม่ทำ คือ สร้างไมโครซอฟท์ขึ้นมา เขาเลือกที่จะเป็นนายจ้าง ไม่ใช่ลูกจ้าง
ยุค Google (แลร์รี เพจ และเซอร์เกย์ บริน เป็น ผู้ประกอบการทางวิทยาศาสตร์)
เป็นบริษัทที่นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ด้านไอที มาสร้างเป็น Search Engine จ้างนักวิทยาศาสตร์และวิศวกร(หลายสาขาโดยเฉพาะไอที) มาร่วมงาน ก่อให้เกิดการจ้างงานและช่วยเศรษฐกิจขับเคลื่อนไปได้
ยุค Apple (สตีฟ จอบส์ เป็น ผู้ประกอบการทางวิทยาศาสตร์)
เป็นบริษัทที่นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาสร้างเป็น iPhone iPod iPad Macbook จ้างนักวิทยาศาสตร์และวิศวกร(หลายสาขาโดยเฉพาะไอที) มาร่วมงาน ก่อให้เกิดการจ้างงานและช่วยเศรษฐกิจขับเคลื่อนไปได้
ยุค Facebook (มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก เป็น ผู้ประกอบการทางวิทยาศาสตร์)
เป็นบริษัทที่นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางไอที มาสร้างเป็นเว็บ Social Network จ้างนักวิทยาศาสตร์และวิศวกร(หลายสาขาโดยเฉพาะไอที) มาร่วมงาน ก่อให้เกิดการจ้างงานและช่วยเศรษฐกิจขับเคลื่อนไปได้
ถ้าใครเคยอ่านประวัติบริษัทพวกนี้อาจเคยสังเกตว่า บริษัทพวกนี้มักมีจุดร่วมอะไรบางอย่างกับบริษัทดังในอดีตก่อนหน้า เช่น IBM หรือ ฮิวเลตต์-แพคการ์ด เพื่อจะเติบโตขึ้นมาเป็นอนาคตใหม่
กลับมาที่ประเทศไทย ประเทศไทยปั้มนักวิทยาศาสตร์ออกมาเป็นจำนวนมาก แต่บุคคลเหล่านี้ถูกผลิตออกมาเป็นลูกจ้าง ไม่ใช่ นายจ้าง
ในเมื่อมีแต่ลูกจ้างสุดท้ายล้นตลาด
ในภาพลักษณ์นี้ อย่างคนไทยหลายๆคนอาจคิดว่า
"วิทยาศาสตร์ไม่ได้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจเลย"
ทำไมคนไทยยังงมงาย เพราะเขาไม่เชื่อในวิทยาศาสตร์ หรือไม่
เพราะนักวิทยาศาสตร์ไทยไม่ได้พิสูจน์อะไรที่เป็นรูปธรรมเหมือนกับ โทมัส เอดิสัน หรือไม่
ดังนั้น กุญแจสำคัญในการปฏิรูปวิทยาศาสตร์ประเทศไทย คือ "ผู้ประกอบการทางวิทยาศาสตร์" หรือไม่
ผู้ประกอบการทางวิทยาศาสตร์ช่วยพัฒนาความเจริญก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์ไทย(หรือไม่)
ประเทศไทยมีความล้าหลังทางด้านวิทยาศาสตร์อย่างมาก แต่สิ่งที่ประเทศไทยทำคือ การปั้มนักวิทยาศาสตร์ออกมาเป็นจำนวนมาก แต่การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ไทยก็ยังไม่ไปไหนเกิดอะไรขึ้น
ก่อนยุคโทมัส เอดิสัน
ในสมัยก่อนเมื่อผู้คนต้องเผชิญกับความมืด อาจใช้ไฟจากแสงเทียน ตะเกียง หรือ คบไฟ เพื่อให้แสงสว่าง
ยุคโทมัส เอดิสัน (ผู้ประกอบการทางวิทยาศาสตร์)
โทมัส เอดิสัน ไม่เพียงแต่ประดิษฐ์หลอดไฟได้ แต่โทมัส เอดิสัน ยังเป็นผู้ประกอบการ มีการก่อตั้งบริษัท จ้างผู้มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาช่วยงาน ซึ่งน่าจะเป็นสาเหตุที่สามารถสร้างสิ่งประดิษฐ์ได้มากมาย และ ที่สำคัญ เขาใช้บริษัทของเขากระจายแสงสว่างจากหลอดไฟในห้องทดลองสู่บ้านเรือนประชาชนทั่วๆไป
เชื่อมั่นและศรัทธา
ประชาชนจากที่เคยมีแสงสว่างใช้ไม่เพียงพอ กลับมีหลอดไฟฟ้าใช้ได้อย่างทั่วไป ทำให้ประชาชนเริ่มเชื่อในใจว่า วิทยาศาสตร์ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตได้
ปัจจุบันบริษัทที่เอดิสันก่อตั้งกลายเป็นบริษัทเจเนอรัลอิเล็กทริก (General Electric) บริษัทเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดใหญ่ของโลก ก่อให้เกิดการจ้างงานและช่วยเศรษฐกิจขับเคลื่อนไปได้
ยุค Microsoft (บิล เกตส์ เป็น ผู้ประกอบการทางวิทยาศาสตร์)
เป็นบริษัทที่นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ด้านไอที มาสร้างเป็น OS จ้างนักวิทยาศาสตร์และวิศวกร(โดยเฉพาะด้านไอที) มาร่วมงาน ก่อให้เกิดการจ้างงานและช่วยเศรษฐกิจขับเคลื่อนไปได้
บิล เกตส์ อาจจะเก่งกว่าอาจารย์หรือไม่ ไม่รู้ แต่เขาเลือกทำในสิ่งที่อาจารย์ไม่ทำ คือ สร้างไมโครซอฟท์ขึ้นมา เขาเลือกที่จะเป็นนายจ้าง ไม่ใช่ลูกจ้าง
ยุค Google (แลร์รี เพจ และเซอร์เกย์ บริน เป็น ผู้ประกอบการทางวิทยาศาสตร์)
เป็นบริษัทที่นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ด้านไอที มาสร้างเป็น Search Engine จ้างนักวิทยาศาสตร์และวิศวกร(หลายสาขาโดยเฉพาะไอที) มาร่วมงาน ก่อให้เกิดการจ้างงานและช่วยเศรษฐกิจขับเคลื่อนไปได้
ยุค Apple (สตีฟ จอบส์ เป็น ผู้ประกอบการทางวิทยาศาสตร์)
เป็นบริษัทที่นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาสร้างเป็น iPhone iPod iPad Macbook จ้างนักวิทยาศาสตร์และวิศวกร(หลายสาขาโดยเฉพาะไอที) มาร่วมงาน ก่อให้เกิดการจ้างงานและช่วยเศรษฐกิจขับเคลื่อนไปได้
ยุค Facebook (มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก เป็น ผู้ประกอบการทางวิทยาศาสตร์)
เป็นบริษัทที่นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางไอที มาสร้างเป็นเว็บ Social Network จ้างนักวิทยาศาสตร์และวิศวกร(หลายสาขาโดยเฉพาะไอที) มาร่วมงาน ก่อให้เกิดการจ้างงานและช่วยเศรษฐกิจขับเคลื่อนไปได้
ถ้าใครเคยอ่านประวัติบริษัทพวกนี้อาจเคยสังเกตว่า บริษัทพวกนี้มักมีจุดร่วมอะไรบางอย่างกับบริษัทดังในอดีตก่อนหน้า เช่น IBM หรือ ฮิวเลตต์-แพคการ์ด เพื่อจะเติบโตขึ้นมาเป็นอนาคตใหม่
กลับมาที่ประเทศไทย ประเทศไทยปั้มนักวิทยาศาสตร์ออกมาเป็นจำนวนมาก แต่บุคคลเหล่านี้ถูกผลิตออกมาเป็นลูกจ้าง ไม่ใช่ นายจ้าง
ในเมื่อมีแต่ลูกจ้างสุดท้ายล้นตลาด
ในภาพลักษณ์นี้ อย่างคนไทยหลายๆคนอาจคิดว่า
"วิทยาศาสตร์ไม่ได้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจเลย"
ทำไมคนไทยยังงมงาย เพราะเขาไม่เชื่อในวิทยาศาสตร์ หรือไม่
เพราะนักวิทยาศาสตร์ไทยไม่ได้พิสูจน์อะไรที่เป็นรูปธรรมเหมือนกับ โทมัส เอดิสัน หรือไม่
ดังนั้น กุญแจสำคัญในการปฏิรูปวิทยาศาสตร์ประเทศไทย คือ "ผู้ประกอบการทางวิทยาศาสตร์" หรือไม่