สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 2
ในเชิงวิศวกรรม กระสุนเจาะเกราะ (Armor-Piercing shell) นั้น
ในส่วนเปลือกหุ้ม (Shell) จะเป็นโลหะที่แกร่งมาก ผ่านกระบวนการเคลือบแข็ง ใช้เหล็กกล้า + Tungsten carbide
หรือ depleted Uranium การใช้ shell ที่เป็นวัสดุเหล่านี้เพื่อจะได้มีคุณสมบัติ คงรูป อยู่ได้เมื่อกระทบเป้าหมาย ทำให้สามารถ
ส่งถ่ายพลังงานเข้าเกราะนั้น ๆ ได้แบบเต็ม ๆ โดยมีค่า Delta-S ที่น้อย (อัตราการเปลี่ยนรูป) ทำให้เกราะนั้นได้รับ
พลังงานจนไม่สามารถต้านทานได้ กระสุนจึงทะลุไปได้ครับ
กระสุน APS ในปัจจุบันนี้ จะเน้นไปที่การใช้ depleted Uranium ซึ่งเป็นยูเรเนียมด้อยสมรรถนะ ซึ่งเป็นส่วนที่เหลืออยู่จากการ
สกัด Uranium ธรรมชาติสำหรับนำไปใช้ในเครื่องปฏิกรณ์ Nuclear โดยกระสุนเจาะเกราะหัว Uranium นี้จะใช้ทดแทน
Tungsten carbide เพราะมีค่าความหนาแน่นสูง และมีคุณสมบัติ self sharpens (เหลาแหลมเองได้) อีกทั้งสะเก็ดบางส่วน
(อาจจะ) มีคุณสมบัติในการลุกไหม้ด้วยตัวเอง (Pyrophoric) โดยจะลุกไหม้เมื่อเจาะผ่านเกราะเข้าไปแล้ว ทำให้เสียหายได้มากครับ
ภาพความเสียหายของเกราะ เมื่อโดน APS ทะลวง (โปรดดูความหนาของเกราะในภาพ 2
เทียบกับสภาพที่ไม่บุบสลายของหัวกระสุน APS ครับ แข็งแกร่งน่าทึ่งมาก)
ในส่วนเปลือกหุ้ม (Shell) จะเป็นโลหะที่แกร่งมาก ผ่านกระบวนการเคลือบแข็ง ใช้เหล็กกล้า + Tungsten carbide
หรือ depleted Uranium การใช้ shell ที่เป็นวัสดุเหล่านี้เพื่อจะได้มีคุณสมบัติ คงรูป อยู่ได้เมื่อกระทบเป้าหมาย ทำให้สามารถ
ส่งถ่ายพลังงานเข้าเกราะนั้น ๆ ได้แบบเต็ม ๆ โดยมีค่า Delta-S ที่น้อย (อัตราการเปลี่ยนรูป) ทำให้เกราะนั้นได้รับ
พลังงานจนไม่สามารถต้านทานได้ กระสุนจึงทะลุไปได้ครับ
กระสุน APS ในปัจจุบันนี้ จะเน้นไปที่การใช้ depleted Uranium ซึ่งเป็นยูเรเนียมด้อยสมรรถนะ ซึ่งเป็นส่วนที่เหลืออยู่จากการ
สกัด Uranium ธรรมชาติสำหรับนำไปใช้ในเครื่องปฏิกรณ์ Nuclear โดยกระสุนเจาะเกราะหัว Uranium นี้จะใช้ทดแทน
Tungsten carbide เพราะมีค่าความหนาแน่นสูง และมีคุณสมบัติ self sharpens (เหลาแหลมเองได้) อีกทั้งสะเก็ดบางส่วน
(อาจจะ) มีคุณสมบัติในการลุกไหม้ด้วยตัวเอง (Pyrophoric) โดยจะลุกไหม้เมื่อเจาะผ่านเกราะเข้าไปแล้ว ทำให้เสียหายได้มากครับ
ภาพความเสียหายของเกราะ เมื่อโดน APS ทะลวง (โปรดดูความหนาของเกราะในภาพ 2
เทียบกับสภาพที่ไม่บุบสลายของหัวกระสุน APS ครับ แข็งแกร่งน่าทึ่งมาก)
ความคิดเห็นที่ 6
กระสุนเจาะเกราะสมัยก่อนหลักการง่าย ๆ คือเอาโลหะแข็ง ๆ อย่างทังสเตนมายิงเหล็กที่มีค่าอ่อนกว่า เหมือนเราเอาไม้แหลมไปปักขี้เลนนั่นแหละ
ต่อมาเมื่อเกราะมีความหนามาก ๆ กระสุนจึงต้องใหญ่ตาม ปัญหาของทังเสตนก็คือมันเจาะเกราะได้แต่ราคาค่าตัวมันสูงในการขึ้นรูปมาใช้งาน ส่วน DU ได้มาฟรี ๆ กระสุน DU มันเป็นโลหะที่ไม่แข็งมาก ความหนาแน่นสูงเป็นโลหะผลึกเดี่ยว แต่มันเปราะมันเเข็งกว่าตะกั่วเท่าเดียวเอง แต่เมื่อมันยิงไปกระทบเป้าหมายมันจะแตกเป็นผง ๆ ตอนนี้แหละมันจะเผาไหม้ปล่อยความร้อนสูงออกมา(Uranium is "pyrophoric": at the point of impact it burns away into vapour) เผาทุกอย่างที่ขวางมัน มันจะเผาเหล็กจนเป็นไอ
ต่อมาเมื่อเกราะมีความหนามาก ๆ กระสุนจึงต้องใหญ่ตาม ปัญหาของทังเสตนก็คือมันเจาะเกราะได้แต่ราคาค่าตัวมันสูงในการขึ้นรูปมาใช้งาน ส่วน DU ได้มาฟรี ๆ กระสุน DU มันเป็นโลหะที่ไม่แข็งมาก ความหนาแน่นสูงเป็นโลหะผลึกเดี่ยว แต่มันเปราะมันเเข็งกว่าตะกั่วเท่าเดียวเอง แต่เมื่อมันยิงไปกระทบเป้าหมายมันจะแตกเป็นผง ๆ ตอนนี้แหละมันจะเผาไหม้ปล่อยความร้อนสูงออกมา(Uranium is "pyrophoric": at the point of impact it burns away into vapour) เผาทุกอย่างที่ขวางมัน มันจะเผาเหล็กจนเป็นไอ
แสดงความคิดเห็น
กระสุน AP มันเจาะเกราะได้อย่างไร