คือว่าเคสเป็นงี้นะครับ ภรรยาเป็นต่างชาติ นามสกุล A
ผมนามสกุล ก.
แต่งงานจดทะเบียนที่ต่างประเทศปี 47 ภรรยาเปลี่ยนนามสกุลมาเป็น ก. ตามผม พอปี 55 ผมเปลี่ยนไปใช้นามสกุล ข. ตามคุณแม่ของผม แต่ภรรยาและลูกๆอีก3คนไม่เปลี่ยนตามโดยยังคงใช้นามสกุล ก. ต่อไป ทีนี้พอตอนไปแจ้งเกิดลูกคนที่4ที่เพิ่งเกิด ผมและภรรยาตกลงกันว่าเด็กจะใช้นามสกุล ก. (ลดปัญหาเวลาเอาใบสูติบัติไปแจ้งเกิดกับทางสถานฑูตและอื่นๆ) แต่ปลัดอำเภอบอกว่าสามารถแจ้งเกิดเด็กโดยใช้นามสกุล A. หรือ นามสกุล ข. ได้เท่านั้น
คือที่ผมเห็นว่าถ้าเด็กสามารถใช้นามสกุล A. ได้ตามที่เจ้าหน้าที่แจ้งมามันไม่ค่อยเมคเซนส์เท่าไหร่ เพราะเด็กคนนั้นจะมีนามสกุลนั้นอยู่คนเดียว แทนที่จะมีนามสกุลที่เหมือนกับนามสกุลปัจจุบันของพ่อหรือแม่
อยากทราบว่าทำอย่างไรได้บ้างครับ ควรศึกษากฎหมายมาตราใดข้อใดครับ
แจ้งเกิดลูกสาวโดยใช้นามสกุลตามมารดาไม่ได้
ผมนามสกุล ก.
แต่งงานจดทะเบียนที่ต่างประเทศปี 47 ภรรยาเปลี่ยนนามสกุลมาเป็น ก. ตามผม พอปี 55 ผมเปลี่ยนไปใช้นามสกุล ข. ตามคุณแม่ของผม แต่ภรรยาและลูกๆอีก3คนไม่เปลี่ยนตามโดยยังคงใช้นามสกุล ก. ต่อไป ทีนี้พอตอนไปแจ้งเกิดลูกคนที่4ที่เพิ่งเกิด ผมและภรรยาตกลงกันว่าเด็กจะใช้นามสกุล ก. (ลดปัญหาเวลาเอาใบสูติบัติไปแจ้งเกิดกับทางสถานฑูตและอื่นๆ) แต่ปลัดอำเภอบอกว่าสามารถแจ้งเกิดเด็กโดยใช้นามสกุล A. หรือ นามสกุล ข. ได้เท่านั้น
คือที่ผมเห็นว่าถ้าเด็กสามารถใช้นามสกุล A. ได้ตามที่เจ้าหน้าที่แจ้งมามันไม่ค่อยเมคเซนส์เท่าไหร่ เพราะเด็กคนนั้นจะมีนามสกุลนั้นอยู่คนเดียว แทนที่จะมีนามสกุลที่เหมือนกับนามสกุลปัจจุบันของพ่อหรือแม่
อยากทราบว่าทำอย่างไรได้บ้างครับ ควรศึกษากฎหมายมาตราใดข้อใดครับ