คำว่า ศรัทธาในความหมายโดยทั่วไปคือ ความเชื่อ
ในพระพุทธศาสนา คำว่า "ศรัทธา" มีความหมายที่มี ความสำคัญมากไปกว่า ความเชื่อ
คำว่า "ศรัทธา" ในพระพุทธศาสนา มีลักษณะของความ คุ้นเคย ยินดี เมื่อได้พบ ได้เห็น ได้ยิน ได้ฟัง สิ่งที่นำไปสู่ความเจริญ
เป็นลักษณะของ คำ ที่มีความหมาย โดยนัยยะ ตรงกับความดีที่เคยกระทำ โดยคุ้นเคย หรือ เคยปราถนาตั้งใจไว้
"ศรัทธา" ทางพระพุทธศาสนา มีความหมาย ที่แสดงลักษณะ แรกพบ ที่มากกว่า ความเชื่อ
เช่น พระสารีบุตรเถระ เพียงเห็น พระอัสชิ เดินบิณฑบาตร อยู่ ก็ เกิดความ
ศรัทธาเลื่อมใส ในพระอัสชิและได้ฟัง ธรรม จนบรรลุ พระโสดาบัน
ศรัทธา มีสภาวะ ของ จิต ที่เคยสั่งสมสิ่งใดสิ่งหนึ่งไว้ หรือ ปราถนาใน สิ่งใด สิ่งหนึ่งไว้ตามความเป็นจริง
ดังนั้น "ศรัทธา" มีความหมายของ
ประสบการณ์ที่เรียนรู้ที่ถูกสั่งสมในชีวิต ในความหมายโดยทั่วไป
ในทางพระพุทธศาสนา "ศรัทธา" แสดงความหมาย ของ
ประสบการณ์ความดีที่สั่งสม หรือ เคยปราถนาไว้ ที่ผ่าน กาลเวลามาอย่างยาวนาน
ดังนั้น โดยเหตุและผล "ศรัทธา" ในทางพระพุทธศาสนา คือ คำที่แสดงความหมายถึง ประสบการณ์ความดีที่สั่งสม หรือ เคยปราถนาไว้ที่ ผ่านกาลเวลายาวนาน
ที่เชื่อว่า จะนำไปสู่ทางแห่งการ "พ้นทุกข์" ตามหลักปฏิบัติของ ทาน ศีล ภาวนา
( โดยการศึกษาจาก พยัญชนะ กระผม เข้าใจความหมายของ "ศรัทธา" โดยนัยยะนี้)
คำว่า "ศรัทธา" ใน พระพุทธศาสนา
ในพระพุทธศาสนา คำว่า "ศรัทธา" มีความหมายที่มี ความสำคัญมากไปกว่า ความเชื่อ
คำว่า "ศรัทธา" ในพระพุทธศาสนา มีลักษณะของความ คุ้นเคย ยินดี เมื่อได้พบ ได้เห็น ได้ยิน ได้ฟัง สิ่งที่นำไปสู่ความเจริญ
เป็นลักษณะของ คำ ที่มีความหมาย โดยนัยยะ ตรงกับความดีที่เคยกระทำ โดยคุ้นเคย หรือ เคยปราถนาตั้งใจไว้
"ศรัทธา" ทางพระพุทธศาสนา มีความหมาย ที่แสดงลักษณะ แรกพบ ที่มากกว่า ความเชื่อ
เช่น พระสารีบุตรเถระ เพียงเห็น พระอัสชิ เดินบิณฑบาตร อยู่ ก็ เกิดความ ศรัทธาเลื่อมใส ในพระอัสชิและได้ฟัง ธรรม จนบรรลุ พระโสดาบัน
ศรัทธา มีสภาวะ ของ จิต ที่เคยสั่งสมสิ่งใดสิ่งหนึ่งไว้ หรือ ปราถนาใน สิ่งใด สิ่งหนึ่งไว้ตามความเป็นจริง
ดังนั้น "ศรัทธา" มีความหมายของ ประสบการณ์ที่เรียนรู้ที่ถูกสั่งสมในชีวิต ในความหมายโดยทั่วไป
ในทางพระพุทธศาสนา "ศรัทธา" แสดงความหมาย ของ ประสบการณ์ความดีที่สั่งสม หรือ เคยปราถนาไว้ ที่ผ่าน กาลเวลามาอย่างยาวนาน
ดังนั้น โดยเหตุและผล "ศรัทธา" ในทางพระพุทธศาสนา คือ คำที่แสดงความหมายถึง ประสบการณ์ความดีที่สั่งสม หรือ เคยปราถนาไว้ที่ ผ่านกาลเวลายาวนาน ที่เชื่อว่า จะนำไปสู่ทางแห่งการ "พ้นทุกข์" ตามหลักปฏิบัติของ ทาน ศีล ภาวนา
( โดยการศึกษาจาก พยัญชนะ กระผม เข้าใจความหมายของ "ศรัทธา" โดยนัยยะนี้)