คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
> ค่าความถูกต้อง (Accuracy คือ Resolution)
ไม่ใช่ resolution ไม่ใช่ค่าความถูกต้อง แต่เป็นค่าน้อยสุดที่อ่านได้ที่แสดงบนสเกล
อ้างอิงจาก https://en.wikipedia.org/wiki/Multimeter#Resolution
The resolution of a multimeter is the smallest part of the scale which can be shown, which is scale dependent.
กรณี เทอร์โมมิเตอร์แบบกระเปาะแก้ว มันคือ เส้นสเกลเล็กสุดบนตัวมิเตอร์ นั่นคือ ที่
±1°C(-10 to 10°C) ช่องสเกลเล็กสุดช่องละ 1องศา
( rest is ±2°C) ช่องสเกลเล็กสุดช่องละ 2 องศา
เว็บผู้ผลิตเขียนถูก เว็บผู้นำเข้าเขียนผิด
ไม่ใช่ resolution ไม่ใช่ค่าความถูกต้อง แต่เป็นค่าน้อยสุดที่อ่านได้ที่แสดงบนสเกล
อ้างอิงจาก https://en.wikipedia.org/wiki/Multimeter#Resolution
The resolution of a multimeter is the smallest part of the scale which can be shown, which is scale dependent.
กรณี เทอร์โมมิเตอร์แบบกระเปาะแก้ว มันคือ เส้นสเกลเล็กสุดบนตัวมิเตอร์ นั่นคือ ที่
±1°C(-10 to 10°C) ช่องสเกลเล็กสุดช่องละ 1องศา
( rest is ±2°C) ช่องสเกลเล็กสุดช่องละ 2 องศา
เว็บผู้ผลิตเขียนถูก เว็บผู้นำเข้าเขียนผิด
แสดงความคิดเห็น
สอบถามวิธีอ่านค่า ค่าความถูกต้อง (Accuracy คือ Resolution) ในเครื่องมือเทอร์โมมิเตอร์ที่ใช้วัดอุณหภูมิหน่อยครับ
ผมมีเทอรโมมิเตอร์แบบเปาะแก้ว รุ่น SK Sato 1713-00 ที่วัดอุณหภูมิตู้เย็น Mini Thermometer for Refrigerator
สเปคเขาเขียนไว้ว่า
ในเว็บผูผลิต
Measuring range = -30 to 50°C
Resolution = ±1°C(-10 to 10°C, rest is ±2°C)
Dimensions and weight = (W)140x(H)27x(D)8mm approx. 28g
Materials = plastic
Box contains = 10x40 carton(s)
ในเว็บผู้นำเข้าเพื่อจำหน่ายหรือขาย
ที่วัดอุณหภูมิตู้เย็น
ช่วงการวัด -30 ถึง 50°C
Graduation 1°C
Accuracy ±1°C (-10 ถึง 10°C)/ ±2°C
ด้านหลังแป็นแถบแม่เหล็กสำหรับติดในตู้เย็น ตู้แช่
ขนาดตัวเครื่อง 140 x 27 x 8 mm (28g)
วัสดุ ทำจากพลาสติก
ยี่ห้อ SK Sato, Japan
ตามที่ผมเข้าใจคือ ช่วงระหว่าง -10°C ถึง 10°C จะเกิดค่าความผิดพลาดใช่ไหมครับ คือค่าความผิดพลาดอาจจะอยู่ในช่วง ±2°C
ตัวอย่างเช่นเราวัดอุณหภูมิตู้เย็นได้ 1°C เพราะฉะนั้นแล้วตัวเลข 1°C ยังไม่ใช่ค่าที่ถูกต้องใช่ไหมครับ แล้วเราจะรู้ได้ไงว่า 1°C ต้องนำไปบวก ลบ เท่าไรถึงจะได้ค่าที่ถูกต้อง 100%
แต่ถ้านอกเหนือจาก -10°C ถึง 10°C ไปแล้ว ค่าความผิดพลาดก็จะเป็น ±1°C ตัวอย่างเช่นวัดอุณหภูมิได้ 25°C เพราะฉะนั้นแล้วตัวเลข 25°C ก็ยังไม่ใช่ค่าที่ถูกต้องที่สุด แล้วเราต้องนำ 25°C ไปคำนวณบวกลบต่อเพื่อให้ได้ค่าที่ถูกต้องและแม่นยำ
ผมเข้าใจถูกไหมครับ ผมสงสัยมาก เลยอยากถามครับ แล้วถ้าเกิดว่าค่าที่เราอ่านได้ มันไม่ใช่ค่าที่ถูกต้อง เราจะมีสูตรคำนวณอย่างไรครับ