ก่อนอื่นขออกตัวก่อนว่า ผมไม่ได้โลกสวย ไม่ได้เข้าข้างใครเพียงแค่อยากแสดงความคิดเห็นเกียวกับเรื่องนี้สักหน่อย
ปัญหาหลักๆ ของหนังเรื่องอาบัติตามที่กระทรวงวัฒนธรรมนำเสนอนั้นมี ๔ ประเด็น ผมก็จำไม่ได้ แต่ที่แน่ๆคือพูดเรื่อง "ศีลธรรม"
ซึ่งคนไทยส่วนใหญ่ (ตามความคิดผมเห็นว่าเป็นส่วนใหญ่) ไม่เห็นด้วยกับข้ออ้างแบบนี้ ซึ่งผมก็ไม่เห็นด้วย แต่ประเด็นที่ผมอย่างนำเสนอคือ
ความสมจริงของหนัง และขาดความย้อนแยง
ทำไมเราต้องพูดถึงความสมจริง เพราะหนังมันเป็นคนแสดงจริงๆ มีความสมจริงดังตาเราเห็น เรื่องราวแบบอาบัติเท่าที่เห็นเป้นหนังสือนวนิยายก็พอมีบ้าง เช่น เมื่อพระคือคนที่ใช่และสีกาคือใครคนนั้น เป็นภาพยนต์คงเป็น นาคปรก หรือศพไม่เงียบ ซึ่งเป็นเรื่องที่มีปัญหาเพราะพูดเรื่องศาสนาซึ่งค่อนข้างละเอียดอ่อน สมมติว่าหนังอาบัติฉายได้ปกติ คนดูบางคนซึ่งไม่ค่อยจะมีศรัทธายึดมั่นในศาสนาเท่าไหร่คงจะคิด (อาจจะคิดแน่ๆ) ว่า "พระบวชแล้วคงเป้นแบบนี้หมด" ซึ่งในสังคมเราก็มีคนแบบนี้เยอะแยะซ่ะด้วย เหมือนพวกเชื่อหนังภาพยนตร์เรื่องนี้สร้างจากเหตุการจริง (ทั้งที่มีการดัดแปลง) ทำให้หนังสมจริง และคนเชื่อได้ ไม่เหมือนกับหนังสือที่ผมพูดถึงแล้วเรื่อง เมื่อพระคือคนที่ใช่และสีการคือใครคนนั้น ซึ่งนวนิยายสร้างความสมจริงแบบหนังไม่ได้ นวนิยายจึงไม่มีปัญหา
หากจะให้ผมติติงหนังอาบัติก็ตรงที่ขาดความย้อนแยง หากจะนำเสนอประเด็นทางศาสนาซึ่งเป็นด้านมืดของศาสนาก้สมควรที่จะนำเสนอด้านดีๆ เป็นความย้อนแยงของเรื่องด้วย อาจจะมีสามเณรอีกรูปซึ่งประพฤติดี ตรงกันข้ามกับสามเณรที่ประพฤติไม่ดีด้วย อีนนึ้ถือว่าเป้นสิ่งที่ขาดไปสำหรับเรื่องนี้ เพราะถ้าคุณนำเสนอเพียงความชั่วอย่างเดียว เเล้วพระดีดีจะมีที่ยืนในสังคมได้อย่างไร
ไม่ว่าอย่างไรแม้หนังไม่ฉายจากการที่ดูโฆษณาอย่างเดียว มันก็อาจบอกได้เลยว่า "ภาพยนตร์เรื่องอาบัติ สั่นคลอนศรัทธาต่อศาสนาแน่ๆ"
ว่าด้วยการงดฉายหนังอาบัติ
ปัญหาหลักๆ ของหนังเรื่องอาบัติตามที่กระทรวงวัฒนธรรมนำเสนอนั้นมี ๔ ประเด็น ผมก็จำไม่ได้ แต่ที่แน่ๆคือพูดเรื่อง "ศีลธรรม"
ซึ่งคนไทยส่วนใหญ่ (ตามความคิดผมเห็นว่าเป็นส่วนใหญ่) ไม่เห็นด้วยกับข้ออ้างแบบนี้ ซึ่งผมก็ไม่เห็นด้วย แต่ประเด็นที่ผมอย่างนำเสนอคือ
ความสมจริงของหนัง และขาดความย้อนแยง
ทำไมเราต้องพูดถึงความสมจริง เพราะหนังมันเป็นคนแสดงจริงๆ มีความสมจริงดังตาเราเห็น เรื่องราวแบบอาบัติเท่าที่เห็นเป้นหนังสือนวนิยายก็พอมีบ้าง เช่น เมื่อพระคือคนที่ใช่และสีกาคือใครคนนั้น เป็นภาพยนต์คงเป็น นาคปรก หรือศพไม่เงียบ ซึ่งเป็นเรื่องที่มีปัญหาเพราะพูดเรื่องศาสนาซึ่งค่อนข้างละเอียดอ่อน สมมติว่าหนังอาบัติฉายได้ปกติ คนดูบางคนซึ่งไม่ค่อยจะมีศรัทธายึดมั่นในศาสนาเท่าไหร่คงจะคิด (อาจจะคิดแน่ๆ) ว่า "พระบวชแล้วคงเป้นแบบนี้หมด" ซึ่งในสังคมเราก็มีคนแบบนี้เยอะแยะซ่ะด้วย เหมือนพวกเชื่อหนังภาพยนตร์เรื่องนี้สร้างจากเหตุการจริง (ทั้งที่มีการดัดแปลง) ทำให้หนังสมจริง และคนเชื่อได้ ไม่เหมือนกับหนังสือที่ผมพูดถึงแล้วเรื่อง เมื่อพระคือคนที่ใช่และสีการคือใครคนนั้น ซึ่งนวนิยายสร้างความสมจริงแบบหนังไม่ได้ นวนิยายจึงไม่มีปัญหา
หากจะให้ผมติติงหนังอาบัติก็ตรงที่ขาดความย้อนแยง หากจะนำเสนอประเด็นทางศาสนาซึ่งเป็นด้านมืดของศาสนาก้สมควรที่จะนำเสนอด้านดีๆ เป็นความย้อนแยงของเรื่องด้วย อาจจะมีสามเณรอีกรูปซึ่งประพฤติดี ตรงกันข้ามกับสามเณรที่ประพฤติไม่ดีด้วย อีนนึ้ถือว่าเป้นสิ่งที่ขาดไปสำหรับเรื่องนี้ เพราะถ้าคุณนำเสนอเพียงความชั่วอย่างเดียว เเล้วพระดีดีจะมีที่ยืนในสังคมได้อย่างไร
ไม่ว่าอย่างไรแม้หนังไม่ฉายจากการที่ดูโฆษณาอย่างเดียว มันก็อาจบอกได้เลยว่า "ภาพยนตร์เรื่องอาบัติ สั่นคลอนศรัทธาต่อศาสนาแน่ๆ"