คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
ที่นี้ผมอยากทราบว่าแรงดึงดูดมันมาจากไหนหรอครับ ในเมื่อใต้โลกของเราก็ไม่มีใครรุ้ได้ว่ามันคืออะไร
แล้วทำไมดาวเคราะห์ต่างๆถึงมีแรงดึงดูดระหว่างกันเป็นระบบ ระเบียบ ทำให้ไม่ชนกันง่ายๆ
แรงโน้มถ่วงมาจาก มวล ครับ คือตอนนี้นักวิทยาศาสตร์แน่ใจ 100% และคำนวณได้ พิสูจน์ได้
ว่าแรงโน้มถ่วงมาจากมวล โดยไม่ขึ้นกับว่ามวลก้อนนั้นจะประกอบจากโครงสร้างแบบใหน จะเป็นดาวฤกษ์
ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แก้ส ก็สร้างแรงโน้มถ่วงได้ทั้งนั้น และเรื่องส่วนประกอบของโลกเราก็รู้มานานแล้วครับ
ว่าข้างล่าง (ข้างใน) มีอะไรบ้าง มันก็คือชั้นหินหลอมเหลว และ โลหะหลอมเหลว
ส่วนเรื่องดาวเคราะห์ต่าง ๆ ไม่ชนกันเลยนั้น เป็นเพราะว่าดาวเคราะห์แต่ละดวงต่างกำเนิดที่ระยะห่างกันมาก ๆๆๆ ครับ
และก็มีโมเมนตัมการโคจรรอบดวงอาทิตย์ที่สูงมากเมื่อเทียบกับระยะทางที่ห่างจากดาวเคราะห์ดวงอื่น
ดังนั้น แต่ละดวงจึงโคจรรอบดวงอาทิตย์ได้อย่างสมดุลย์ครับ
เมื่อก่อนคิดว่าแรงดึงดูดมันต้องดึงลงไปข้างล่างอย่างเดียว แต่มันก็มีแรงต้านขึ้นบนเหมือนกัน
อันนี้ งง นิดนึง ช่วยยกตัวอย่างได้ไหม ?
ถ้าเอกภพนี้มีการขยายแบบสิ้นสุด มันจะดึงตัวเองกลับเข้าสู่จุดเริ่มต้น นั่นคือแรงดึงดูดเป็นสิ่งที่ทำให้เอกภพใหม่ เป็นวัฎจักรแบบนี้ตลอดไป
ทฤษฏีแบบนี้ผมขอผ่านก่อน เพราะเป็นเพียงแนวความคิดเท่านั้น
ถ้าอยากทราบแรงดึงดูดว่ามาจากไหน เราต้องหาจุดศูนย์กลางที่กำเนิดเอกภพนี้ใช่หรือเปล่าครับ
คือว่า แรงโน้มถ่วงที่มีนัยสำคัญ คือ แรงโน้มถ่วงภายในระบบสุริยะเท่านั้น แต่หากออกไปนอกระบบสุริยะ
แรงโน้มถ่วงก็จะไม่มีนัยสำคัญอะไร ถึงแม้ว่าทางวิทยาศาสตร์จะมีทฤษฏีว่าแรงโน้มถ่วงจะมีอันตกิริยาได้
ไม่จำกัดระยะทาง ก็ตาม แต่แรงโน้มถ่วงนอกระบบสุริยะมันจะไม่มีค่านัยสำคัญอะไรเลย
ดังนั้น ระดับที่ไกลขนาดศูนย์กลางเอกภพที่ จขกท.เสนอมา นี้ ก็จะไม่มีความสำคัญเลยในประเด็นแรงโน้มถ่วง
ปัจจุบันนี้ สิ่งที่อยู่นอกระบสุริยะที่นักดาราศาสตร์สนใจ คือ สสารมืด (Dark matter) ครับ
แล้วทำไมดาวเคราะห์ต่างๆถึงมีแรงดึงดูดระหว่างกันเป็นระบบ ระเบียบ ทำให้ไม่ชนกันง่ายๆ
แรงโน้มถ่วงมาจาก มวล ครับ คือตอนนี้นักวิทยาศาสตร์แน่ใจ 100% และคำนวณได้ พิสูจน์ได้
ว่าแรงโน้มถ่วงมาจากมวล โดยไม่ขึ้นกับว่ามวลก้อนนั้นจะประกอบจากโครงสร้างแบบใหน จะเป็นดาวฤกษ์
ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แก้ส ก็สร้างแรงโน้มถ่วงได้ทั้งนั้น และเรื่องส่วนประกอบของโลกเราก็รู้มานานแล้วครับ
ว่าข้างล่าง (ข้างใน) มีอะไรบ้าง มันก็คือชั้นหินหลอมเหลว และ โลหะหลอมเหลว
ส่วนเรื่องดาวเคราะห์ต่าง ๆ ไม่ชนกันเลยนั้น เป็นเพราะว่าดาวเคราะห์แต่ละดวงต่างกำเนิดที่ระยะห่างกันมาก ๆๆๆ ครับ
และก็มีโมเมนตัมการโคจรรอบดวงอาทิตย์ที่สูงมากเมื่อเทียบกับระยะทางที่ห่างจากดาวเคราะห์ดวงอื่น
ดังนั้น แต่ละดวงจึงโคจรรอบดวงอาทิตย์ได้อย่างสมดุลย์ครับ
เมื่อก่อนคิดว่าแรงดึงดูดมันต้องดึงลงไปข้างล่างอย่างเดียว แต่มันก็มีแรงต้านขึ้นบนเหมือนกัน
อันนี้ งง นิดนึง ช่วยยกตัวอย่างได้ไหม ?
ถ้าเอกภพนี้มีการขยายแบบสิ้นสุด มันจะดึงตัวเองกลับเข้าสู่จุดเริ่มต้น นั่นคือแรงดึงดูดเป็นสิ่งที่ทำให้เอกภพใหม่ เป็นวัฎจักรแบบนี้ตลอดไป
ทฤษฏีแบบนี้ผมขอผ่านก่อน เพราะเป็นเพียงแนวความคิดเท่านั้น
ถ้าอยากทราบแรงดึงดูดว่ามาจากไหน เราต้องหาจุดศูนย์กลางที่กำเนิดเอกภพนี้ใช่หรือเปล่าครับ
คือว่า แรงโน้มถ่วงที่มีนัยสำคัญ คือ แรงโน้มถ่วงภายในระบบสุริยะเท่านั้น แต่หากออกไปนอกระบบสุริยะ
แรงโน้มถ่วงก็จะไม่มีนัยสำคัญอะไร ถึงแม้ว่าทางวิทยาศาสตร์จะมีทฤษฏีว่าแรงโน้มถ่วงจะมีอันตกิริยาได้
ไม่จำกัดระยะทาง ก็ตาม แต่แรงโน้มถ่วงนอกระบบสุริยะมันจะไม่มีค่านัยสำคัญอะไรเลย
ดังนั้น ระดับที่ไกลขนาดศูนย์กลางเอกภพที่ จขกท.เสนอมา นี้ ก็จะไม่มีความสำคัญเลยในประเด็นแรงโน้มถ่วง
ปัจจุบันนี้ สิ่งที่อยู่นอกระบสุริยะที่นักดาราศาสตร์สนใจ คือ สสารมืด (Dark matter) ครับ
แสดงความคิดเห็น
แรงดึงดูด เกิดจากอะไร ?
ที่นี้ผมอยากทราบว่าแรงดึงดูดมันมาจากไหนหรอครับ ในเมื่อใต้โลกของเราก็ไม่มีใครรุ้ได้ว่ามันคืออะไร แล้วทำไมดาวเคราะห์ต่างๆถึงมีแรงดึงดูดระหว่างกันเป็นระบบ ระเบียบ ทำให้ไม่ชนกันง่ายๆ
ถ้าเอกภพนี้มีการขยายแบบสิ้นสุด มันจะดึงตัวเองกลับเข้าสู่จุดเริ่มต้น นั่นคือแรงดึงดูดเป็นสิ่งที่ทำให้เอกภพใหม่ เป็นวัฎจักรแบบนี้ตลอดไป
ถ้าอยากทราบแรงดึงดูดว่ามาจากไหน เราต้องหาจุดศูนย์กลางที่กำเนิดเอกภพนี้ใช่หรือเปล่าครับ