ชื่อไทย: เสือโคร่งบาหลี
ชื่อภาษาอังกฤษ: Bali Tiger
ชื่อทางวิทยาศาสตร์: Panthera tigris balica
สถานะการอนุรักษ์: สูญพันธุ์ (ค.ศ. 1937)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์:
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Carnivora
วงศ์: Felidae
สกุล: Panthera
สปีชีส์: Panthera tigris
ชนิดย่อย/noitalics: P. t. balica
เสือโคร่งบาหลี เป็นเสือโคร่งสายพันธุ์ย่อยสายพันธุ์หนึ่ง เป็นเสือโคร่ง 1 ใน 3 สายพันธุ์ที่เคยมีอยู่ในอินโดนีเซีย
โดยเสือโคร่งบาหลีจะพบได้เฉพาะบนเกาะบาหลีเท่านั้น ปัจจุบันได้
สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว
จากการล่าด้วยน้ำมือของมนุษย์
เสือโคร่งบาหลีนับเป็นเสือโคร่งที่มีขนาดเล็กที่สุดเท่าที่มีในโลก เมื่อเทียบกับเสือโคร่งไซบีเรีย (P. t. altaica)
ที่เป็นเสือโคร่งขนาดใหญ่ที่สุดแล้ว เสือโคร่งบาหลีมีขนาดลำตัวเพียงครึ่งหนึ่งของเสือโคร่งไซบีเรียเท่านั้น
โดยมีลำตัวไล่เลี่ยกับเสือดาว (P. pardus) หรือเสือพูม่า (Puma concolor) ที่พบในทวีปอเมริกาเหนือ
น้ำหนักในตัวผู้โดยเฉลี่ย 90-100 กิโลกรัม ขณะที่ตัวเมียจะอยู่ที่ 65-80 กิโลกรัม
ความยาวตั้งแต่หัวจรดหางของตัวผู้ 220 เซนติเมตร ตัวเมีย 195-200 เซนติเมตร
เสือโคร่งบาหลีมีสีขนและลวดลายบนลำตัวเข้มที่สุดในบรรดาเสือโคร่งทั้งหมด
เสือโคร่งบาหลีตัวสุดท้ายตายลงเมื่อวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1937 เป็นเสือตัวเมียที่ถูกยิงในบาหลีตะวันตก
ปัจจุบันพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ทั่วโลก มีซากเสือโคร่งบาหลีเพียง 8 ตัวเท่านั้น โดยส่วนใหญ่จะได้มาจากการล่าในทศวรรษที่ 30
cr:
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B5
อย่าให้ต้องรอถึงสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์ไหน ที่จะเป็นรายต่อไป ที่จะต้องสูญพันธุ์
(หนึ่งในนั้นก็คือ "ช้างไทย" เรานี่แหละ ที่เป็นห่วง)
วันนี้เมื่อ 78 ปีที่แล้ว...เสือโคร่งบาหลีตัวสุดท้าย...ที่ถูกฆ่าตายโดยฝีมือมนุษย์...ก่อนสูญพันธุ์
ชื่อภาษาอังกฤษ: Bali Tiger
ชื่อทางวิทยาศาสตร์: Panthera tigris balica
สถานะการอนุรักษ์: สูญพันธุ์ (ค.ศ. 1937)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์:
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Carnivora
วงศ์: Felidae
สกุล: Panthera
สปีชีส์: Panthera tigris
ชนิดย่อย/noitalics: P. t. balica
เสือโคร่งบาหลี เป็นเสือโคร่งสายพันธุ์ย่อยสายพันธุ์หนึ่ง เป็นเสือโคร่ง 1 ใน 3 สายพันธุ์ที่เคยมีอยู่ในอินโดนีเซีย
โดยเสือโคร่งบาหลีจะพบได้เฉพาะบนเกาะบาหลีเท่านั้น ปัจจุบันได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้วจากการล่าด้วยน้ำมือของมนุษย์
เสือโคร่งบาหลีนับเป็นเสือโคร่งที่มีขนาดเล็กที่สุดเท่าที่มีในโลก เมื่อเทียบกับเสือโคร่งไซบีเรีย (P. t. altaica)
ที่เป็นเสือโคร่งขนาดใหญ่ที่สุดแล้ว เสือโคร่งบาหลีมีขนาดลำตัวเพียงครึ่งหนึ่งของเสือโคร่งไซบีเรียเท่านั้น
โดยมีลำตัวไล่เลี่ยกับเสือดาว (P. pardus) หรือเสือพูม่า (Puma concolor) ที่พบในทวีปอเมริกาเหนือ
น้ำหนักในตัวผู้โดยเฉลี่ย 90-100 กิโลกรัม ขณะที่ตัวเมียจะอยู่ที่ 65-80 กิโลกรัม
ความยาวตั้งแต่หัวจรดหางของตัวผู้ 220 เซนติเมตร ตัวเมีย 195-200 เซนติเมตร
เสือโคร่งบาหลีมีสีขนและลวดลายบนลำตัวเข้มที่สุดในบรรดาเสือโคร่งทั้งหมด
เสือโคร่งบาหลีตัวสุดท้ายตายลงเมื่อวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1937 เป็นเสือตัวเมียที่ถูกยิงในบาหลีตะวันตก
ปัจจุบันพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ทั่วโลก มีซากเสือโคร่งบาหลีเพียง 8 ตัวเท่านั้น โดยส่วนใหญ่จะได้มาจากการล่าในทศวรรษที่ 30
cr: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B5
อย่าให้ต้องรอถึงสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์ไหน ที่จะเป็นรายต่อไป ที่จะต้องสูญพันธุ์ (หนึ่งในนั้นก็คือ "ช้างไทย" เรานี่แหละ ที่เป็นห่วง)