การปฎิบัติไปตามลำดับในอธิจิต
สติสัมปชัญญะ
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ มีสติก้าวไป มีสติถอยกลับ มีสติยืนอยู่ มีสติ
นั่งอยู่ มีสตินอน มีสติประกอบการงาน ดูกรอานนท์ นี้เป็นอนุสสติซึ่งภิกษุ
เจริญแล้ว ทำให้มากแล้วอย่างนี้ ย่อมเป็นไปเพื่อสติสัมปชัญญะ
สมาธิภาวนาที่เจริญการทำให้มากแล้ว เป็นไปเพื่อสติสัมปชัญญะ
เป็นไฉน ? ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ เวทนาเกิดขึ้นก็รู้ เวทนาตั้งอยู่ก็รู้ เวทนา
ดับไปก็รู้ สัญญาเกิดขึ้นก็รู้ สัญญาตั้งอยู่ก็รู้ สัญญาดับไปก็รู้ วิตกเกิดขึ้นก็รู้
วิตกตั้งอยู่ก็รู้ วิตกดับไปก็รู้ นี้ สมาธิภาวนาที่เจริญกระทำให้มากแล้วเป็น
ไปเพื่อสติสัมปชัญญะ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใน
ธรรมวินัยนี้ อยู่ในป่าก็ดี อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนว่างก็ดี นั่งคู้บัลลังก์
ตั้งกายตรง ดำรงสติมั่นเฉพาะหน้า
....................................................................................................
ลำดับสมาธินิมิตร อานาปานสติ
1.การนับ วิตกเกิดขึ้นก็รู้
วิตกตั้งอยู่ก็รู้ วิตกดับไปก็รู้ นี้ สมาธิภาวนาที่เจริญกระทำให้มากแล้วเป็น
ไปเพื่อสติสัมปชัญญะ
ทำไมต้องนับ เพราะการนับทำได้ง่าย ได้ตลอดทั้งวัน ทำมาก ทำง่าย เกิด
ฉันทะ
2.เริ่มจับจิตโดยใช้สติสัมปชัญญะหรือขั้นกำหนดรู้กองลมทั้งปวง เปรียบเหมือนบุรุษเอามือทั้ง ๒ จับนกใช้ความเพียรที่พอดี
วิริยะของเราจักไม่ย่อหย่อนเกินไป ไม่ต้องประคองเกินไป
3.ขั้นตรวจตรา หรือธัมมวิจยะ หรือขั้นระงับกายสังขาร วิมังสาของเราจักไม่ย่อหย่อนเกินไป ไม่ต้องประคองเกินไป
4.ขั้นปล่อยจิต หรือจักเปลื้องจิต อุเบกขานิมิตร ให้จิตจดจ่อเอง
จิตตะของเราจักไม่ย่อหย่อนเกินไป ไม่ต้องประคองเกินไป
เปรียบเหมือน นกที่ถูกปล่อยเป็นอิสระ จิตเกิดฉันทะ เกิดความไม่เดือดร้อน เกิดปราโมทย์ ปิติ สุข
...............................................................................................................................................
แต่ละลำดับ มีการมนสิการอย่างไร
1.สติสัมปชัญญะ ไปตามลำดับ
หายใจเข้า ออก นับ 1-100 ต่อมา
หายใจเข้าออก นับ 1-10 ต่อมา
หายใจเข้าออก นับถอยหลัง 10-1 ต่อมา นับไปข้างหน้า หายใจเข้าออก นับ 1-10
2.เริ่มจับจิตโดยใช้สติสัมปชัญญะหรือจับนกด้วยมือ 2มือ(ขั้นกำหนดรู้
กองลมทั้งปวง)
สมาธินิต
1-10
หายใจเข้าสุด เสร็จแล้วจึงนับ หายใจออกเสร็จแล้วจึงนับ ต่างจากการนับธรรมดาที่ไม่ต้องรอ
นายช่าง
กลึงหรือลูกมือของนายช่างกลึงผู้ขยัน เมื่อชักเชือกกลึงยาว ก็รู้ชัดว่า เราชักยาว
เมื่อชักเชือกกลึงสั้น ก็รู้ชัดว่า เราชักสั้น
3.ขั้นตรวจตรา หรือธัมมวิจยะ ระงับกายสังขาร วิมังสาของเราจักไม่ย่อหย่อนเกินไป ไม่ต้องประคองเกินไป
หยุดนับเพราะต้องการลดกำลังความเพียรลงไม่ให้จิตลำบากเกินไป
หายใจเข้า เสร็จแล้วจึงรู้ หายใจออกเสร้จแล้วจึงรู้
สมาธินิมิต
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เปรียบเหมือนหมู่มหาชนได้ทราบข่าวว่า
มีนางงามในชนบทพึงประชุมกัน ก็นางงามในชนบทนั้น
น่าดูอย่างยิ่งในการฟ้อนรำ น่าดูอย่างยิ่งในการขับร้อง
หมู่มหาชนได้ทราบข่าวว่า นางงามในชนบทจะฟ้อนรำขับร้อง
พึงประชุมกันยิ่งขึ้นกว่าประมาณ
ครั้งนั้น บุรุษผู้อยากเป็นอยู่ ไม่อยากตาย
ปรารถนาความสุข เกลียดทุกข์
พึงมากล่าวกะหมู่มหาชนนั้นอย่างนี้ว่า
“บุรุษผู้เจริญ ! ท่านพึงนำภาชนะน้ำมันอันเต็มเปี่ยมนี้
ไปในระหว่างที่ประชุมใหญ่กับนางงามในชนบท
และจักมีบุรุษเงื้อดาบตามบุรุษผู้นำหม้อน้ำมันนั้นไปข้างหลัง ๆ
บอกว่า ท่านจักทำน้ำมันนั้นหกแม้หน่อยหนึ่งในที่ใด
ศีรษะของท่านจักขาดตกลงไปในที่นั้นทีเดียว” .
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เธอทั้งหลายจะสำคัญความข้อ
นั้นเป็นอย่างไร ? บุรุษผู้นั้นจะไม่ใส่ใจภาชนะน้ำมัน
โน้น แล้วพึงประมาทในภายนอกเทียวหรือ.
“ไม่เป็นอย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เราทำอุปมานี้ เพื่อให้เข้าใจ
เนื้อความนี้ชัดขึ้น เนื้อความในข้อนี้มีอย่างนี้แล คำว่า
ภาชนะน้ำมันอันเต็มเปี่ยม เป็นชื่อของ กายคตาสติ.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้
เธอทั้งหลายพึงทำการศึกษาอย่างนี้ว่า
กายคตาสติ จักเป็นของอันเราเจริญแล้ว
กระทำให้มากแล้ว กระทำให้เป็นดังยาน
กระทำให้เป็นที่ตั้ง กระทำไม่หยุด สั่งสมแล้ว ปรารภดีแล้ว.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เธอทั้งหลายพึงทำการศึกษาอย่างนี้.
4.ขั้นปล่อยจิต หรือจักเปลื้องจิต อุเบกขานิมิตร ให้จิตจดจ่อเอง
จิตตะของเราจักไม่ย่อหย่อนเกินไป ไม่ต้องประคองเกินไป
เปรียบเหมือน นกที่ถูกปล่อยเป็นอิสระ จิตเกิดฉันทะ เกิดความไม่เดือดร้อน เกิดปราโมทย์ ปิติ สุข
สมาธินิต
จิตไม่ถึงความฟุ้งซ่าน จิตปรากฏเป็นประธาน จิตให้ประโยคสำเร็จ
และบรรลุผลวิเศษอย่างไร
เปรียบเหมือนต้นไม้ที่
เขาวางไว้ ณ ภาคพื้นที่เรียบ บุรุษเอาเลื่อยเลื่อยต้นไม้นั้น
สติของบุรุษย่อมเข้าไปตั้งอยู่ด้วยสามารถแห่งฟันเลื่อยซึ่งถูกที่ต้นไม้
บุรุษนั้นไม่ได้ใส่ใจถึงฟันเลื่อยที่มาหรือที่ไป ฟันเลื่อยที่มาหรือที่ไปไม่ปรากฏ
ก็หามิได้ จิตปรากฏเป็นประธาน จิตให้ประโยคสำเร็จ และบรรลุผลวิเศษ
ความเนื่องกันเป็นนิมิต เหมือนต้นไม้ที่เขาวางไว้ ณ ภาคพื้นที่เรียบ
ลมเข้าออก เหมือนฟันเลื่อย
ดูกรอานนท์ ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ มีความ
เพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสีย เมื่อเธอพิจารณาเห็นกายใน
กายอยู่ ความเร่าร้อนมีกายเป็นอารมณ์เกิดขึ้นในกายก็ดี ความหดหู่แห่งจิตเกิดขึ้นก็ดี จิตฟุ้งซ่าน
ไปในภายนอกก็ดี
ภิกษุนั้น ! พึงตั้งจิตไว้ให้มั่นในนิมิต อันเป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใสอย่างใด
อย่างหนึ่ง เมื่อเธอตั้งจิตไว้มั่นในนิมิต อันเป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใสอย่างใดอย่างหนึ่งอยู่
ปราโมทย์ย่อมเกิด
เมื่อเธอปราโมทย์ ปีติย่อมเกิด เมื่อเธอมีใจประกอบด้วยปีติ กายย่อมระงับ
เธอมีกายระงับแล้ว ย่อมเสวยสุข เมื่อเธอมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น เธอย่อมพิจารณา
เห็น อย่างนี้ว่าเราตั้งจิตไว้เพื่อประโยชน์ใด ประโยชน์นั้นสำเร็จแก่เราแล้ว บัดนี้เราจะคุมจิตไว้
เธอคุมจิตไว้
และไม่ตรึก ไม่ตรอง ย่อมรู้ชัดว่า เราไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีสติ ในภายใน เป็นผู้มีความสุข
ดังนี้.
พุทธวจน ! การประกอบความเพียรในอธิจิต นี้เป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย
สติสัมปชัญญะ
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ มีสติก้าวไป มีสติถอยกลับ มีสติยืนอยู่ มีสติ
นั่งอยู่ มีสตินอน มีสติประกอบการงาน ดูกรอานนท์ นี้เป็นอนุสสติซึ่งภิกษุ
เจริญแล้ว ทำให้มากแล้วอย่างนี้ ย่อมเป็นไปเพื่อสติสัมปชัญญะ
สมาธิภาวนาที่เจริญการทำให้มากแล้ว เป็นไปเพื่อสติสัมปชัญญะ
เป็นไฉน ? ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ เวทนาเกิดขึ้นก็รู้ เวทนาตั้งอยู่ก็รู้ เวทนา
ดับไปก็รู้ สัญญาเกิดขึ้นก็รู้ สัญญาตั้งอยู่ก็รู้ สัญญาดับไปก็รู้ วิตกเกิดขึ้นก็รู้
วิตกตั้งอยู่ก็รู้ วิตกดับไปก็รู้ นี้ สมาธิภาวนาที่เจริญกระทำให้มากแล้วเป็น
ไปเพื่อสติสัมปชัญญะ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใน
ธรรมวินัยนี้ อยู่ในป่าก็ดี อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนว่างก็ดี นั่งคู้บัลลังก์
ตั้งกายตรง ดำรงสติมั่นเฉพาะหน้า
....................................................................................................
ลำดับสมาธินิมิตร อานาปานสติ
1.การนับ วิตกเกิดขึ้นก็รู้
วิตกตั้งอยู่ก็รู้ วิตกดับไปก็รู้ นี้ สมาธิภาวนาที่เจริญกระทำให้มากแล้วเป็น
ไปเพื่อสติสัมปชัญญะ
ทำไมต้องนับ เพราะการนับทำได้ง่าย ได้ตลอดทั้งวัน ทำมาก ทำง่าย เกิดฉันทะ
2.เริ่มจับจิตโดยใช้สติสัมปชัญญะหรือขั้นกำหนดรู้กองลมทั้งปวง เปรียบเหมือนบุรุษเอามือทั้ง ๒ จับนกใช้ความเพียรที่พอดี วิริยะของเราจักไม่ย่อหย่อนเกินไป ไม่ต้องประคองเกินไป
3.ขั้นตรวจตรา หรือธัมมวิจยะ หรือขั้นระงับกายสังขาร วิมังสาของเราจักไม่ย่อหย่อนเกินไป ไม่ต้องประคองเกินไป
4.ขั้นปล่อยจิต หรือจักเปลื้องจิต อุเบกขานิมิตร ให้จิตจดจ่อเอง จิตตะของเราจักไม่ย่อหย่อนเกินไป ไม่ต้องประคองเกินไป
เปรียบเหมือน นกที่ถูกปล่อยเป็นอิสระ จิตเกิดฉันทะ เกิดความไม่เดือดร้อน เกิดปราโมทย์ ปิติ สุข
...............................................................................................................................................
แต่ละลำดับ มีการมนสิการอย่างไร
1.สติสัมปชัญญะ ไปตามลำดับ
หายใจเข้า ออก นับ 1-100 ต่อมา
หายใจเข้าออก นับ 1-10 ต่อมา
หายใจเข้าออก นับถอยหลัง 10-1 ต่อมา นับไปข้างหน้า หายใจเข้าออก นับ 1-10
2.เริ่มจับจิตโดยใช้สติสัมปชัญญะหรือจับนกด้วยมือ 2มือ(ขั้นกำหนดรู้กองลมทั้งปวง)
สมาธินิต
1-10
หายใจเข้าสุด เสร็จแล้วจึงนับ หายใจออกเสร็จแล้วจึงนับ ต่างจากการนับธรรมดาที่ไม่ต้องรอ
นายช่าง
กลึงหรือลูกมือของนายช่างกลึงผู้ขยัน เมื่อชักเชือกกลึงยาว ก็รู้ชัดว่า เราชักยาว
เมื่อชักเชือกกลึงสั้น ก็รู้ชัดว่า เราชักสั้น
3.ขั้นตรวจตรา หรือธัมมวิจยะ ระงับกายสังขาร วิมังสาของเราจักไม่ย่อหย่อนเกินไป ไม่ต้องประคองเกินไป
หยุดนับเพราะต้องการลดกำลังความเพียรลงไม่ให้จิตลำบากเกินไป
หายใจเข้า เสร็จแล้วจึงรู้ หายใจออกเสร้จแล้วจึงรู้
สมาธินิมิต
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เปรียบเหมือนหมู่มหาชนได้ทราบข่าวว่า
มีนางงามในชนบทพึงประชุมกัน ก็นางงามในชนบทนั้น
น่าดูอย่างยิ่งในการฟ้อนรำ น่าดูอย่างยิ่งในการขับร้อง
หมู่มหาชนได้ทราบข่าวว่า นางงามในชนบทจะฟ้อนรำขับร้อง
พึงประชุมกันยิ่งขึ้นกว่าประมาณ
ครั้งนั้น บุรุษผู้อยากเป็นอยู่ ไม่อยากตาย
ปรารถนาความสุข เกลียดทุกข์
พึงมากล่าวกะหมู่มหาชนนั้นอย่างนี้ว่า
“บุรุษผู้เจริญ ! ท่านพึงนำภาชนะน้ำมันอันเต็มเปี่ยมนี้
ไปในระหว่างที่ประชุมใหญ่กับนางงามในชนบท
และจักมีบุรุษเงื้อดาบตามบุรุษผู้นำหม้อน้ำมันนั้นไปข้างหลัง ๆ
บอกว่า ท่านจักทำน้ำมันนั้นหกแม้หน่อยหนึ่งในที่ใด
ศีรษะของท่านจักขาดตกลงไปในที่นั้นทีเดียว” .
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เธอทั้งหลายจะสำคัญความข้อ
นั้นเป็นอย่างไร ? บุรุษผู้นั้นจะไม่ใส่ใจภาชนะน้ำมัน
โน้น แล้วพึงประมาทในภายนอกเทียวหรือ.
“ไม่เป็นอย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เราทำอุปมานี้ เพื่อให้เข้าใจ
เนื้อความนี้ชัดขึ้น เนื้อความในข้อนี้มีอย่างนี้แล คำว่า
ภาชนะน้ำมันอันเต็มเปี่ยม เป็นชื่อของ กายคตาสติ.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้
เธอทั้งหลายพึงทำการศึกษาอย่างนี้ว่า
กายคตาสติ จักเป็นของอันเราเจริญแล้ว
กระทำให้มากแล้ว กระทำให้เป็นดังยาน
กระทำให้เป็นที่ตั้ง กระทำไม่หยุด สั่งสมแล้ว ปรารภดีแล้ว.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เธอทั้งหลายพึงทำการศึกษาอย่างนี้.
4.ขั้นปล่อยจิต หรือจักเปลื้องจิต อุเบกขานิมิตร ให้จิตจดจ่อเอง จิตตะของเราจักไม่ย่อหย่อนเกินไป ไม่ต้องประคองเกินไป
เปรียบเหมือน นกที่ถูกปล่อยเป็นอิสระ จิตเกิดฉันทะ เกิดความไม่เดือดร้อน เกิดปราโมทย์ ปิติ สุข
สมาธินิต
จิตไม่ถึงความฟุ้งซ่าน จิตปรากฏเป็นประธาน จิตให้ประโยคสำเร็จ
และบรรลุผลวิเศษอย่างไร
เปรียบเหมือนต้นไม้ที่เขาวางไว้ ณ ภาคพื้นที่เรียบ บุรุษเอาเลื่อยเลื่อยต้นไม้นั้น
สติของบุรุษย่อมเข้าไปตั้งอยู่ด้วยสามารถแห่งฟันเลื่อยซึ่งถูกที่ต้นไม้
บุรุษนั้นไม่ได้ใส่ใจถึงฟันเลื่อยที่มาหรือที่ไป ฟันเลื่อยที่มาหรือที่ไปไม่ปรากฏ
ก็หามิได้ จิตปรากฏเป็นประธาน จิตให้ประโยคสำเร็จ และบรรลุผลวิเศษ
ความเนื่องกันเป็นนิมิต เหมือนต้นไม้ที่เขาวางไว้ ณ ภาคพื้นที่เรียบ
ลมเข้าออก เหมือนฟันเลื่อย
ดูกรอานนท์ ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ มีความ
เพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสีย เมื่อเธอพิจารณาเห็นกายใน
กายอยู่ ความเร่าร้อนมีกายเป็นอารมณ์เกิดขึ้นในกายก็ดี ความหดหู่แห่งจิตเกิดขึ้นก็ดี จิตฟุ้งซ่าน
ไปในภายนอกก็ดี
ภิกษุนั้น ! พึงตั้งจิตไว้ให้มั่นในนิมิต อันเป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใสอย่างใด
อย่างหนึ่ง เมื่อเธอตั้งจิตไว้มั่นในนิมิต อันเป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใสอย่างใดอย่างหนึ่งอยู่
ปราโมทย์ย่อมเกิด
เมื่อเธอปราโมทย์ ปีติย่อมเกิด เมื่อเธอมีใจประกอบด้วยปีติ กายย่อมระงับ
เธอมีกายระงับแล้ว ย่อมเสวยสุข เมื่อเธอมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น เธอย่อมพิจารณา
เห็น อย่างนี้ว่าเราตั้งจิตไว้เพื่อประโยชน์ใด ประโยชน์นั้นสำเร็จแก่เราแล้ว บัดนี้เราจะคุมจิตไว้
เธอคุมจิตไว้
และไม่ตรึก ไม่ตรอง ย่อมรู้ชัดว่า เราไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีสติ ในภายใน เป็นผู้มีความสุข
ดังนี้.