วรรณะ แปลว่า ชนชั้นความแตกต่างกัน
1. พราหมณ์ คือ สั่งสอนผู้คนให้มีความรู้ท้างด้าน
ขนบธรรมเนียมและประเพณี
2. กษัตริย์ คือ ปกครองบ้านเมือง
3. ไวศยะ (แพศย์) คือ ใช้วาจาค้าขาย
4. ศูทร คือ แรงงาน
พระพุทธเจ้า ตรัสรู้ คือการพ้นออกจากกองทุกข์ ทุกข์ ๑ ในทุกข์ทั้งหลาย คือ การแบ่งชั้นวรรณะ
แต่เราลองมองดูทุกวันนี้ สังคมต่างแบ่งชนชั้นวรรณะ คนรวยกว่า คนเรียนจบสูงกว่า ข้าราชการต้องสูงกว่า ฯลฯ
ส่วนเราชาวบ้านธรรมดา ต้องเป็นคนต่ำต้อย บ้านเมืองเราจึงเหมือนสังคมกดขี่ข่มเหง ผู้ด้อยกว่า ทางสังคม
แต่หลายคนก็ยังกราบและเคารพพระพุทธเจ้าเช่นกัน และศรัทธาท่านมหาสาร แต่ผมว่าไม่มีใครเคารพ
และศรัทธาท่านเลย แม้แต่สิ่งที่ท่านสอน ยังทำตามท่านไม่ได้ แล้วจะกราบไหว้ท่านด้วยใจที่บริสุทธ์
ได้อย่างไร แล้วจะเขียนใว้ในทัเบียนบ้าน หรือ บัตรประชาชนใว้ทำไม ว่านับถือพุทธ
ถ้าครูมองนักเรียนว่าโง่นักเรียนก็ไม่มีทางฉลาด
ถ้าหมอมองคนไข้ตามจนหรือรวยคนคงตายเยอะ
ถ้าพระสงฆ์มองชาวบ้านว่าต่ำกว่า อย่างนี้จะเป็นพุทธได้อย่างไร ยิ่งถ้าเป็นนักปฏิบัติธรรมด้วยแล้ว
ยิ่งจะไม่เหลือยศใดเลย แต่ไม่ใช่เป็นคนต่ำต้อย
แต่เป็นคนที่เข้าใจคนทั้งโลก ว่ามีเกิด แก่ เจ็บตาย ด้วยกันทั้งสิ้น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
การแบ่งชั้นวรรณะ (ข้อคิดจาก อ.พรหมพิริยะ)
1. พราหมณ์ คือ สั่งสอนผู้คนให้มีความรู้ท้างด้าน
ขนบธรรมเนียมและประเพณี
2. กษัตริย์ คือ ปกครองบ้านเมือง
3. ไวศยะ (แพศย์) คือ ใช้วาจาค้าขาย
4. ศูทร คือ แรงงาน
พระพุทธเจ้า ตรัสรู้ คือการพ้นออกจากกองทุกข์ ทุกข์ ๑ ในทุกข์ทั้งหลาย คือ การแบ่งชั้นวรรณะ
แต่เราลองมองดูทุกวันนี้ สังคมต่างแบ่งชนชั้นวรรณะ คนรวยกว่า คนเรียนจบสูงกว่า ข้าราชการต้องสูงกว่า ฯลฯ
ส่วนเราชาวบ้านธรรมดา ต้องเป็นคนต่ำต้อย บ้านเมืองเราจึงเหมือนสังคมกดขี่ข่มเหง ผู้ด้อยกว่า ทางสังคม
แต่หลายคนก็ยังกราบและเคารพพระพุทธเจ้าเช่นกัน และศรัทธาท่านมหาสาร แต่ผมว่าไม่มีใครเคารพ
และศรัทธาท่านเลย แม้แต่สิ่งที่ท่านสอน ยังทำตามท่านไม่ได้ แล้วจะกราบไหว้ท่านด้วยใจที่บริสุทธ์
ได้อย่างไร แล้วจะเขียนใว้ในทัเบียนบ้าน หรือ บัตรประชาชนใว้ทำไม ว่านับถือพุทธ
ถ้าครูมองนักเรียนว่าโง่นักเรียนก็ไม่มีทางฉลาด
ถ้าหมอมองคนไข้ตามจนหรือรวยคนคงตายเยอะ
ถ้าพระสงฆ์มองชาวบ้านว่าต่ำกว่า อย่างนี้จะเป็นพุทธได้อย่างไร ยิ่งถ้าเป็นนักปฏิบัติธรรมด้วยแล้ว
ยิ่งจะไม่เหลือยศใดเลย แต่ไม่ใช่เป็นคนต่ำต้อย
แต่เป็นคนที่เข้าใจคนทั้งโลก ว่ามีเกิด แก่ เจ็บตาย ด้วยกันทั้งสิ้น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา