1.ในแง่ของการใช้สรรพนาม เราว่า อังกฤษง่ายสุดใช้แค่ I กับ You โดยไม่เลือกชนชั้นวรรณะ เพศ สถานะทางครอบครัว สังคม
แม้แต่การคุยกับกษัตริย์ ก็ยังใช้แค่ I กับ You มันเป็นอะไรที่ simple และเหมาะที่จะเป็นภาษาสากลของโลกมากๆ
จริงๆภาษาไทยก็ง่ายนะ ง่ายกว่าภาษาอังกฤษตรงจุดที่
ไม่ต้องมีผันไปตามกาล (อดีต ปัจจุบัน อนาคต เช่น I was, I am, I will)
ไม่ต้องผันไปเพศ ตามพจน์ (ญ ช หลาย หนึ่ง ฯลฯ อย่างใน ภ.ตะวันตก)
หรืออย่างภาษาเดนมาร์ก ศัพย์คำหนึ่งต้องเปลี่ยนไปตามประโยคที่จะเอ่ย เช่น
จะพูดเรื่องอดีต ก็ต้องถูกเปลี่ยน จะพูดเรื่องปัจจุบันก็ต้องถูกเปลี่ยน อนาคตก็ต้อง
เปลี่ยนอีก เรียกว่าศัพย์หนึ่งคำต้องจำให้ได้ถึง 3 ตัว ของจำนวนหนึ่งชิ้นเรียกอีกอย่าง
ของหลายชิ้นเรียกอีกอย่าง
ภาษาไทยมีหลักที่ค่อนข้างแน่นอน ถ้าเปรียบเทียบกับภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษจะมี exception เยอะ ทำให้ต้องใช้ความจำ ในการแต่งประโยค เช่น
ภาษาอังกฤษจะมี verb 3 ช่อง ที่บางคำช่อง 2 ก็ไม่ใช่เติม ed ไปทุกคำ
ภาษาไทยไม่มีการผันกริยาตามเวลา โดยเฉพาะทางยุโรปเนี่ย จะผันกริยากันทั้งนั้น
ยกตัวอย่างภาษาเยอรมัน แค่ Tenses ในแกรมม่าก็มี 6 แบบแล้ว
as Präsens (Ich lerne Deutsch.)
das Perfekt (Ich habe Deutsch gelernt.)
das Imperfekt / Präteritum (Ich lernte Deutsch.)
das Plusquamperfekt (Ich hatte Deutsch gelernt.)
das Futur 1 (Ich werde Deutsch lernen.)
das Futur 2 (Ich werde Deutsch gelernt haben.)
ยังไม่นับแต่ละนามที่มี 3 เพศ และมีการผันได้ในรูปต่างๆอีกมากมาย คนเยอรมันเองแท้ๆยังใช้แกรมม่ากันผิดๆถูกๆเลย
แต่การใช้สรรพนามมันมากไป และเลือกเปลี่ยนการใช้ไปตามชนชั้นวรรณะ เพศ
แทนที่จะง่าย กลับยากไปเลย สำหรับชาวต่างชาติ แม้แต่เจ้าของภาษาเอง บางทีก็ยังเลือกใช้สรรพนามให้มันเหมาะสมไม่ค่อยถูก
ยกตัวอย่างเช่น พูดกับเพื่อนสนิท พูดกูได้ แต่ไปคุยกับครู จะใช้สรรพนามนี้ไม่ได้
หรืออย่าง ราชาศัพท์คนไทยยังเงิบเลย แล้วถ้าเป็นฝรั่งมาเจอคำราชาศัพท์ หรือ ภาษาที่ใช้กับพระสงฆ์ด้วยแล้ว คง...
ภาษาไทยยุ่งยาก ก็เรื่องคำสรรพนาม
และเรื่องลักษณะนาม (รถ ๑ คัน ช้อน ๑ คัน หมา ๑ ตัว ขลุ่ย ๑ เลา ฯลฯ)
คือ เป็นเรื่องที่ต้องจำล้วนๆ ไม่ได้มีหลักหรือมีกฎชัดเจน
ข้อดีอย่างนึงคือ ภาษาไทย มีห้องเสียง ผันเสียงได้ครบทุกคีย์ ทุกตัวโน้ต ได้เหมือนตัวโน้ตเพลง จึงสร้างความไพเราะ ในการแต่งกลอน การสัมผัสใช้คำ
2.ภาษาเขียนที่ยากที่สุด เราว่าเป็นภาษาจีน เพราะว่าภาษาจีนเกิดจากสัญลักษณ์หรือตัวอักษรที่ซับซ้อนมาก เส้นก็เยอะ เขียนหนึ่งคำ ต้องใช้เวลามากกว่า
การเขียนภาษาอื่น เด็กจีนจะต้องเรียนรู้ตัวอักษรหลายพันตัวก่อนที่จะอ่านออกเขียนได้คล่อง ปัจจุบันตัวอักษรจีนมีประมาณ 8 หมื่นตัว แต่มีหลายตัวที่ไม่
ค่อยได้ใช้ ใครจำหมดก็บอกกันได้นะ -*- เพราะภาษาจีนเป็นระบบตัวอักษรแทนคำ จึงมีอักษรมากมาย เมื่อเทียบกับ 26 ตัวอักษรในภาษาอังกฤษที่เป็น
ระบบตัวอักษรแทนเสียง
รองลงมาก็ภาษาอาหรับ เขียนเป็นตัวหนอนยึกๆ 555 การเขียนประโยคนั้นเป็นแบบ cursive แปลว่าแต่ละตัวอักษรต้องเขียนติดกัน ฉะนั้นเวลาจำตัวอักษร
1 ตัว ก็ต้องจำวิธีเขียน 4 แบบ แบบตัวเดียวโดดๆ แบบเขียนขึ้นต้น แบบเขียนตรงกลาง และแบบเขียนตามหลัง ซึ่งบางทีบางตัวอักษรก็คล้ายคลึงกันม๊าก
มาก อักษรติดกันก็ได้ ขาดกันแยกเป็นตัวก็ได้ แต่ละคำผันได้อีก 14 แบบ แต่ละก็ยังผันอีกไม่เกิน14แบบแล้วแต่ชนิดคำ
มีตัดคำ เติมคำ ตามความเซียนภาษา เช่น ไทยเขียน "ฉันจะไปกินข้าว" อาหรับเขียนแค่ "กินข้าว" แต่ความหมายตามอักษรบอกหมดว่าเป็น ผู้ชายหนึ่งคน
กำลังกินข้าว ปกติไม่มีสระ เพราะอักษรจะบังคับกันไปเอง
ภาษาอะไรจัดว่ายากที่สุดและง่ายที่สุดในแง่ต่างๆ
แม้แต่การคุยกับกษัตริย์ ก็ยังใช้แค่ I กับ You มันเป็นอะไรที่ simple และเหมาะที่จะเป็นภาษาสากลของโลกมากๆ
จริงๆภาษาไทยก็ง่ายนะ ง่ายกว่าภาษาอังกฤษตรงจุดที่
ไม่ต้องมีผันไปตามกาล (อดีต ปัจจุบัน อนาคต เช่น I was, I am, I will)
ไม่ต้องผันไปเพศ ตามพจน์ (ญ ช หลาย หนึ่ง ฯลฯ อย่างใน ภ.ตะวันตก)
หรืออย่างภาษาเดนมาร์ก ศัพย์คำหนึ่งต้องเปลี่ยนไปตามประโยคที่จะเอ่ย เช่น
จะพูดเรื่องอดีต ก็ต้องถูกเปลี่ยน จะพูดเรื่องปัจจุบันก็ต้องถูกเปลี่ยน อนาคตก็ต้อง
เปลี่ยนอีก เรียกว่าศัพย์หนึ่งคำต้องจำให้ได้ถึง 3 ตัว ของจำนวนหนึ่งชิ้นเรียกอีกอย่าง
ของหลายชิ้นเรียกอีกอย่าง
ภาษาไทยมีหลักที่ค่อนข้างแน่นอน ถ้าเปรียบเทียบกับภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษจะมี exception เยอะ ทำให้ต้องใช้ความจำ ในการแต่งประโยค เช่น
ภาษาอังกฤษจะมี verb 3 ช่อง ที่บางคำช่อง 2 ก็ไม่ใช่เติม ed ไปทุกคำ
ภาษาไทยไม่มีการผันกริยาตามเวลา โดยเฉพาะทางยุโรปเนี่ย จะผันกริยากันทั้งนั้น
ยกตัวอย่างภาษาเยอรมัน แค่ Tenses ในแกรมม่าก็มี 6 แบบแล้ว
as Präsens (Ich lerne Deutsch.)
das Perfekt (Ich habe Deutsch gelernt.)
das Imperfekt / Präteritum (Ich lernte Deutsch.)
das Plusquamperfekt (Ich hatte Deutsch gelernt.)
das Futur 1 (Ich werde Deutsch lernen.)
das Futur 2 (Ich werde Deutsch gelernt haben.)
ยังไม่นับแต่ละนามที่มี 3 เพศ และมีการผันได้ในรูปต่างๆอีกมากมาย คนเยอรมันเองแท้ๆยังใช้แกรมม่ากันผิดๆถูกๆเลย
แต่การใช้สรรพนามมันมากไป และเลือกเปลี่ยนการใช้ไปตามชนชั้นวรรณะ เพศ
แทนที่จะง่าย กลับยากไปเลย สำหรับชาวต่างชาติ แม้แต่เจ้าของภาษาเอง บางทีก็ยังเลือกใช้สรรพนามให้มันเหมาะสมไม่ค่อยถูก
ยกตัวอย่างเช่น พูดกับเพื่อนสนิท พูดกูได้ แต่ไปคุยกับครู จะใช้สรรพนามนี้ไม่ได้
หรืออย่าง ราชาศัพท์คนไทยยังเงิบเลย แล้วถ้าเป็นฝรั่งมาเจอคำราชาศัพท์ หรือ ภาษาที่ใช้กับพระสงฆ์ด้วยแล้ว คง...
ภาษาไทยยุ่งยาก ก็เรื่องคำสรรพนาม
และเรื่องลักษณะนาม (รถ ๑ คัน ช้อน ๑ คัน หมา ๑ ตัว ขลุ่ย ๑ เลา ฯลฯ)
คือ เป็นเรื่องที่ต้องจำล้วนๆ ไม่ได้มีหลักหรือมีกฎชัดเจน
ข้อดีอย่างนึงคือ ภาษาไทย มีห้องเสียง ผันเสียงได้ครบทุกคีย์ ทุกตัวโน้ต ได้เหมือนตัวโน้ตเพลง จึงสร้างความไพเราะ ในการแต่งกลอน การสัมผัสใช้คำ
2.ภาษาเขียนที่ยากที่สุด เราว่าเป็นภาษาจีน เพราะว่าภาษาจีนเกิดจากสัญลักษณ์หรือตัวอักษรที่ซับซ้อนมาก เส้นก็เยอะ เขียนหนึ่งคำ ต้องใช้เวลามากกว่า
การเขียนภาษาอื่น เด็กจีนจะต้องเรียนรู้ตัวอักษรหลายพันตัวก่อนที่จะอ่านออกเขียนได้คล่อง ปัจจุบันตัวอักษรจีนมีประมาณ 8 หมื่นตัว แต่มีหลายตัวที่ไม่
ค่อยได้ใช้ ใครจำหมดก็บอกกันได้นะ -*- เพราะภาษาจีนเป็นระบบตัวอักษรแทนคำ จึงมีอักษรมากมาย เมื่อเทียบกับ 26 ตัวอักษรในภาษาอังกฤษที่เป็น
ระบบตัวอักษรแทนเสียง
รองลงมาก็ภาษาอาหรับ เขียนเป็นตัวหนอนยึกๆ 555 การเขียนประโยคนั้นเป็นแบบ cursive แปลว่าแต่ละตัวอักษรต้องเขียนติดกัน ฉะนั้นเวลาจำตัวอักษร
1 ตัว ก็ต้องจำวิธีเขียน 4 แบบ แบบตัวเดียวโดดๆ แบบเขียนขึ้นต้น แบบเขียนตรงกลาง และแบบเขียนตามหลัง ซึ่งบางทีบางตัวอักษรก็คล้ายคลึงกันม๊าก
มาก อักษรติดกันก็ได้ ขาดกันแยกเป็นตัวก็ได้ แต่ละคำผันได้อีก 14 แบบ แต่ละก็ยังผันอีกไม่เกิน14แบบแล้วแต่ชนิดคำ
มีตัดคำ เติมคำ ตามความเซียนภาษา เช่น ไทยเขียน "ฉันจะไปกินข้าว" อาหรับเขียนแค่ "กินข้าว" แต่ความหมายตามอักษรบอกหมดว่าเป็น ผู้ชายหนึ่งคน
กำลังกินข้าว ปกติไม่มีสระ เพราะอักษรจะบังคับกันไปเอง