คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
1. กรดไนตริก ละลายโลหะเงิน (Ag) ไปเป็นสารละลายซิลเวอร์ไนเตรต (AgNO3) ซึ่งในสารละลายนี้ ประกอบด้วย ซิลเวอร์ไอออน(Ag+) และ ไนเตรตไอออน (NO3 -)
2. น้ำเกลือ คือ สารละลาย โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ประกอบด้วย โซเดียมไอออน (Na+) กับ คลอไรด์ไอออน (Cl-)
3. พอเอาผสมกัน Ag+ เข้าไปจับรวมตัวกันกับ Cl- เกิดเป็นตะกอน ซิลเวอร์คลอไรด์ (AgCl) ที่ไม่ละลายในน้ำ มีลักษณะเป็นตะกอนสีขาว พอเกิดตะกอนเล็กๆ ขึ้นจำนวนมาก สารที่ได้เลยขุ่นแบบน้ำนม
2. น้ำเกลือ คือ สารละลาย โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ประกอบด้วย โซเดียมไอออน (Na+) กับ คลอไรด์ไอออน (Cl-)
3. พอเอาผสมกัน Ag+ เข้าไปจับรวมตัวกันกับ Cl- เกิดเป็นตะกอน ซิลเวอร์คลอไรด์ (AgCl) ที่ไม่ละลายในน้ำ มีลักษณะเป็นตะกอนสีขาว พอเกิดตะกอนเล็กๆ ขึ้นจำนวนมาก สารที่ได้เลยขุ่นแบบน้ำนม
▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼
แสดงความคิดเห็น
คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
เคมี
เครื่องประดับ
ตรวจเครื่องประดับเงินแท้ได้แต่อยากรู้ว่ามันเกิดขึ้นได้ยังไง ?