คิดเล่นๆนะครับ
ในวัตถุที่ร้อนโดยเฉพาะก๊าซ โมเลกุลของมันย่อมเคลื่อนที่เร็วกว่าในวัตถุที่เย็น
ถ้าดูในเวบไซต์เช่นของ chem team
http://www.chemteam.info/GasLaw/gas-velocity.html
จะพบว่าที่อุณหภูมิราวๆ 31 ํC โมเลกุลจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 486.8 m/s
เนื่องจากความเร็วเป็นเวคเตอร์ ผลรวมจึงหักล้างกันเป็นศูนย์
แต่เวลาไม่เป็นเวคเตอร์เมื่อมันช้าลงผลของมันไม่หักล้างกัน
แต่มันช้าลงเท่าไหร่กันแน่ ผมพบว่ามันคิดสนุกๆได้ แม้ว่าพวกเราจะส่งความรู้ทางฟิสิกส์คืนครูไปหมดแล้ว
ในการทดลองด้วยนาฬิกาอตอมมิคของคีตติ้ง พบว่าเมื่อเอานาฬิกาขึ้นเครื่องไป
สามวันนาฬิกาบนเครื่อง
จะช้าลง 0.15 microseconds
http://hyperphysics.phy-astr.gsu.edu/hbase/relativ/airtim.html
สมมุติเครื่องบิน บินด้วยความเร็ว 600km/hr = 166 m/s ซึ่งเท่ากับ 1/3 ของความเร็วก๊าซ
เราจึง assume ว่าที่อุณหภูมิราว 31 ํC เวลาในก๊าซจะช้าลง 0.15 microseconds! ต่อวัน (มากกว่าของเครื่องบินสามเท่า)
ดังนั้นสมมุติตอนเกิดโลกเมื่อสี่พันล้านปีก่อน ออกซิเจนสองโมเลกุลที่เป็นเพื่อนกันต้องพรากจากกัน
โดยตัวหนึ่งยังอยู่ในอวกาศที่อุณหภูมิศูนย์องศาสมบูรณ์ อีกตัวหนึ่งตกมาในโลก มาอยู่ที่อุณหภูมิ 31 ํC
เวลาผ่านไปสี่พันล้านปี เวลาของออกซิเจนที่อยู่ในโลกจะช้าลง 4000,000,000*365*0.15 เท่ากับ
219000000000 microseconds หรือเท่ากับ 219000 วินาที (60.8 ชั่วโมง)
ดังนั้นพอออกซิเจนที่อยู่ในอวกาศตกลงมาพร้อมกับดาวหาง มาเจอกับเพื่อนที่ตกมาอยู่ในโลกตั้งแต่แรก
มันก็จะช็อคเมื่อพบว่าเพื่อนของมันหนุ่มกว่าตั้งเกือบสามวัน (60.8 ชั่วโมง) !!
และมันคงต้องเสียใจมากที่ถูกทิ้งให้แก่อยู่ในอวกาศ
เวลาในวัตถุที่ร้อน ช้ากว่าในวัตถุที่เย็นกว่า หรือเปล่า?
ในวัตถุที่ร้อนโดยเฉพาะก๊าซ โมเลกุลของมันย่อมเคลื่อนที่เร็วกว่าในวัตถุที่เย็น
ถ้าดูในเวบไซต์เช่นของ chem team http://www.chemteam.info/GasLaw/gas-velocity.html
จะพบว่าที่อุณหภูมิราวๆ 31 ํC โมเลกุลจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 486.8 m/s
เนื่องจากความเร็วเป็นเวคเตอร์ ผลรวมจึงหักล้างกันเป็นศูนย์
แต่เวลาไม่เป็นเวคเตอร์เมื่อมันช้าลงผลของมันไม่หักล้างกัน
แต่มันช้าลงเท่าไหร่กันแน่ ผมพบว่ามันคิดสนุกๆได้ แม้ว่าพวกเราจะส่งความรู้ทางฟิสิกส์คืนครูไปหมดแล้ว
ในการทดลองด้วยนาฬิกาอตอมมิคของคีตติ้ง พบว่าเมื่อเอานาฬิกาขึ้นเครื่องไปสามวันนาฬิกาบนเครื่อง
จะช้าลง 0.15 microseconds http://hyperphysics.phy-astr.gsu.edu/hbase/relativ/airtim.html
สมมุติเครื่องบิน บินด้วยความเร็ว 600km/hr = 166 m/s ซึ่งเท่ากับ 1/3 ของความเร็วก๊าซ
เราจึง assume ว่าที่อุณหภูมิราว 31 ํC เวลาในก๊าซจะช้าลง 0.15 microseconds! ต่อวัน (มากกว่าของเครื่องบินสามเท่า)
ดังนั้นสมมุติตอนเกิดโลกเมื่อสี่พันล้านปีก่อน ออกซิเจนสองโมเลกุลที่เป็นเพื่อนกันต้องพรากจากกัน
โดยตัวหนึ่งยังอยู่ในอวกาศที่อุณหภูมิศูนย์องศาสมบูรณ์ อีกตัวหนึ่งตกมาในโลก มาอยู่ที่อุณหภูมิ 31 ํC
เวลาผ่านไปสี่พันล้านปี เวลาของออกซิเจนที่อยู่ในโลกจะช้าลง 4000,000,000*365*0.15 เท่ากับ
219000000000 microseconds หรือเท่ากับ 219000 วินาที (60.8 ชั่วโมง)
ดังนั้นพอออกซิเจนที่อยู่ในอวกาศตกลงมาพร้อมกับดาวหาง มาเจอกับเพื่อนที่ตกมาอยู่ในโลกตั้งแต่แรก
มันก็จะช็อคเมื่อพบว่าเพื่อนของมันหนุ่มกว่าตั้งเกือบสามวัน (60.8 ชั่วโมง) !!
และมันคงต้องเสียใจมากที่ถูกทิ้งให้แก่อยู่ในอวกาศ