บนการเดินทาง ที่ยังไม่มีทิศทาง มีเพียงแต่เงาที่คอยอยู่เป็นเพื่อนกัน
บนการเดินทางที่ยังอยู่ไกลลิบตา แต่กาลเวลายังคงกระซิบถึงกัน
จักรวาลกว้างใหญ่ไพศาล แต่ว่างเปล่า ๆ เหงาเหลือเกิน
ขออนุญาต เจ้าของเฟสบุ้ค ชื่อ Patto Narimoto Chonpanatarak นะค่ะ อยากแชร์เรื่องราวที่น่าตื่นเต้น 5555
รู้มั้ยครับ ว่าทำไมวันนี้ดาวพลูโตถึงโดดเด่น โด่งดังกว่าทุกๆวัน ทำไมในไทม์ไลน์มีคนพูดถึงคุณพลูโต(ที่ไม่ใช่หมาของมิกกี้เม้าส์)เต็มหมด ใช่ครับ เพราะวันนี้เป็นวันที่ ยานอวกาศ นิวฮอไรซัน จะเดินทางเข้าใกล้ดาวพลูโตมากที่สุดในประวัติศาสตร์ ทำให้เราได้เห็นรายละเอียดมากขึ้นมากๆ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้(แค่นั้นอ่ะนะ? ---เห้ยยย นี่ก็โคตรเท่แล้วนะ)
แต่สำหรับคนที่ชื่นชอบดวงดาว(ที่ไม่ใช่แนวพระศุกร์เข้าพระเสาร์แทรก) โดยเฉพาะนักวิทยาศาสตร์หรือนักดาราศาสตร์ การเข้าใกล้ครั้งนี้มันยิ่งใหญ่กว่าความรู้สึกของคนทั่วไปที่เห็นข่าวนี้ตามหน้านิวส์ฟีดยิ่งนักครับ เพราะพลูโต มีเรื่องราวมากกว่านั้น มากกว่า 9 ปีที่ผ่านมา
เรื่องมันย้อนกลับไป เมื่อ 175 ปีก่อน ผมชอบที่เพื่อนผมคนนึงตั้งข้อสังเกตว่า
"ยังจำได้เลยว่าตอนเรียนประถมหนังสือดาราศาสตร์จะมีแค่ภาพวาดพลูจากจินตนาการเท่านั้น ...เออจริงด้วยเนอะ!!
เรื่องมันย้อนกลับไป เมื่อ 175 ปีก่อน (ใช่ครับ เรื่องมันยาวนานขนาดนั้นจริงๆ แต่ผมสัญญาว่าจะเล่าแค่สั้นๆจริงๆ)
เริ่มจากการมโน (อย่างมีเหตุผลนะ) ตั้งสมมติฐาน อดทนพยายาม และตามไปจนเจอ
คศ. 1840 (หลังอังกฤษปฏิวัติอุตสาหกรรม เจมส์วัตต์ พัฒนาเครื่องจักรไอน้ำได้แล้ว) ตอนนั้นมาร์คซักกะเบิกยังไม่เกิด เหล่านักดาราศาสตร์แม่มไม่มีเฟซบุ๊คให้เล่น เอลเลนยังไม่เผยแพร่ลัทธิเซลฟี่ผ่านงานประกาศรางวัลออสการ์ คุณปู่นักดูดาวเหล่านี้เลยนั่งคำนวนการโคจรของดวงดาวดาวต่างๆเล่นเป็นงานอดิเรกไปเรื่อย โดยเฉพาะการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ(เรียงไปเลย ใกล้ดวงอาทิตย์สุดคือ พุธ ศุกร์ โลก อังคาร พฤหัส เสาร์ ยูเรนัส เนปจูน-ไกลสุด) คำนวนเล่นๆอยู่ดีๆก็มโนไงว่า เหร้ยยย ทำไมวงโคจรของ ยูเรนัส กับ เนปจูน มันแปลกๆวะแกร มันดูขัดๆกันเนอะ เหมือนมีอะไรมาขวาง “กรูว่าต้องมีอะไรบางอย่างอยู่ลิบๆไกลกว่าเนปจูนอีกดวงแน่ๆเลยว่ะ” (ซึ่งอิตอนค้นพบ เนปจูน มันก็มโนว่าวงโคจรยูเรนัสแปลกๆเหมือนกัน)
ผมคำนวนได้จริงๆนะ แต่ผมแค่ยังหาไม่เจอ!!
คศ 1906 เพอร์ซิวัล โลเวล ผู้ดีอังกฤษคนนี้ว่างกว่าเดิมอีกเมิง สร้างหอดูดาวขึ้นมาเพื่อสังเกตและ”ตามล่า”หาดาวดวงที่บังเอิญมารบกวนวงโคจรของท่าน เนปจูนโดยเฉพาะ คุณโลเวลตั้งชื่อว่า ดาวเคราะห์X คือกุไม่รู้ไงชื่อไร เอ็กซ์ละกัน คำนวนแล้วคำนวนอีก ส่องหาแล้วส่องหาอีก ทำอย่างนี้อยู่ 11 ปี ตายเลยว่ะ คือ ตายก่อนจะค้นพบดาวเคราะห์เอ็กซ์ที่เป็นเหมือนกับภาพฝันที่มนุษย์โลกเชื่อว่าต้องมีแน่ๆมาเกือบ70ปี แต่ไม่เจอ เฮ่อออ เสียดายเนอะ น่าสงสารด้วย อุตส่าห์คำนวนได้อย่างแม่นยำและพยายามขนาดนั้นแล้วแท้ๆ
แต่แล้ว อีกเกือบ 20ปีต่อมา ไคลด์ทอมบอก์ หนุ่มวัย24 เสรือกเจอเว่ยยยย คือใช้หอดูดาวของคุณโลเวลเนี่ยล่ะ แต่หมอนี่แม่มเทพสัสๆ คือใช้เครื่องวัดเทียบกระพริบ อธิบายง่ายๆคือ เอาภาพที่บันทึกแสงดวงดาวจากท้องฟ้าในแต่ละช่วง แต่ละวัน มานั่งจ้องเทียบกันในแต่ละวันว่า มีแสงอันไหนเคลื่อนที่มั่งวะ ถ้าขยับได้แปลว่านั่นคือดาวเคราะห์ นางนั่งจ้องอยู่อย่างนี้ทุกวันๆ ๆ ๆ ๆ ๆ อดทนพยายามนั่งเทียบไปมา จนวันนึงนางพบว่า ทำไมแสงดาวดวงนี้มันเคลื่อนที่จากเดิมมา 3 มิลลิเมตร! .....เหร้ยยย 3 มิลลิเมตร นี่สั้นกว่าขนจมูกอีกนะว้อยย เจอแล้วเห้ย!! เจอดาวเคราะห์ที่มารบกวนการโคจรของยูเรนัสกับเนปจูนเข้าให้แล้วววววว และนั่นก็คือวันที่ 18 กุมภา ปี 1930 วันที่มนุษย์โลกค้นพบการมีอยู่ของ ดาวพลูโต นับจากวันที่แรกเรานั่งมโนและเชื่อว่ามีอยู่จริง 90 ปี!!
เกือบไม่ได้เป็นน้องคนสุดท้อง เพราะนักวิทย์พยายามหาบริวารลำดับที่10 !!
เราเจอพลูโต แล้ว แต่ตอนแรกนักวิทยาศาสตร์เค้าบอกว่า แกมันดวงเล็กไปว่ะ ไม่น่าจะมารบกวนการเคลื่อนที่ของท่านยูเรนัสและเนปจูนของเราได้ พวกนางไม่เชื่อเว้ยยยว่าพลูโตจะทำยังงั้นได้ พวกนางเลยหาดาวเคราะห์ดวงที่10ต่อ(ซึ่งเคยพบดวงที่10ชื่อว่า อีรีสแต่โดนตัดไปแล้วเช่นกัน) โชคดียานแม่ลำหนึ่งของเรา (ยานอวกาศวอยซ์เอเจอร์2) เก็บข้อมูลของพลูโตมาได้เพิ่มเติมว่ามีมวลมากพอ นักวิทยาศาสตร์ทั้งหลายเลยยอมเชื่อ และเลิกคิดว่าจะมีดาวเคราห์บริวารดวงอาทิตย์ลำดับที่10 พลูโตเลยได้เป็นน้องคนสุดท้อง คือลำดับที่9จนได้ เย้!
หยุดความดีใจไว้แค่นั้นแหล่ะอิพลูโต แกมันก็แค่ดาวเคราะห์แคระ!!
ดีใจอยู่76 ปี พลูโตก็โดนตั้งคำถามอีกหลังจากความรุดหน้าในการสำรวจอวกาศพบว่า “เหร้ยยยยย ดาวเคราะห์แบบแกนี่มันก็มีเยอะแยะเลยนี่หว่าาาา แถวๆขอบจักรวารที่เลยเนปจูนไปเนี่ยนะ มีดาวหน้าตาคล้ายๆแกเต็มเลยว่ะ” ในปี2006 นักดาราศาสตร์กว่า 2,500 คนตั้งนิยามดาวเคราะห์ขึ้นมาใหม่ให้รัดกุมยิ่งขึ้น เพราะไม่งั้นดาวหรือวัตถุใดๆที่ค้นพบใหม่เรื่อยๆ ก็จะต้องถูกเหมารวมให้กลายเป็นดาวเคราะห์ไปด้วย ซึ่งยิ่งสำรวจยิ่งเจอ ถ้าไม่นิยามใหม่ มีหวังเราได้มีดาวบริวารรอบดวงอาทิตย์อีกเป็นสิบเป็นร้อยเลยนะแกร! นั่นล่ะฮะคุณผู้ชม (เอ้า น้องไบรท์อ่านต่อซิ เอ๊ยไม่ใช่!) พอนิยามใหม่ ดาวพลูโตเลยหลุดจากการเป็นดาวเคราะห์บริวารลำดับ 9 ของดวงอาทิตย์ กลายเป็นเพียงแค่ ดาวเคราะห์แคระ!! โถ่ น่าฉงฉาน อุตส่าห์ตามหากันมาตั้งนาน!!
แต่อย่าน้อยใจไปเลยเพื่อน!
เพราะก่อนหน้าที่นายจะโดนตัดออกจากกองมรดก ตาม บรรพ6 มาตรา1559 ของประมวลกฎหมายแพ่งและพานิชย์แล้ว(เอ่อ เติมให้มันดูมีสาระไปงั้นล่ะ) แต่พวกเราส่งยานไปสำรวจนายก่อนหน้านั้นแล้ว!! YEAH! รู้มั้ยทำไมเราสนใจนาย เพราะนายอยู๋ไกลจากเรามากกกกกกก มากที่สุดเลย เราเลยไม่รู้อะไรเกี่ยวกับนายเลย เราได้แต่คิด คำนวน เดา มโนถึงแต่นายว่าจะเป็นยังไงมั่งนะ คือเราไม่เคยเห็นภาพโปรไฟล์นายเลยไง เราเลยอยากรู้จักนาย และนั่นคือความท้าทายของเราด้วย ท้าทายความสามารถของมนุษย์โลกนี่ล่ะ ว่าจะเดินทางไปถึงนายได้มั้ย เพราะฉะนั้น เราจึงได้ปล่อยยาน New Horizons ออกไปหานายตอน เดือนมกราคม 2006 และแม้ว่าอีก 7เดือนต่อมา ในเดือนสิงหาคม จะมีมติตัดนายออกไปแล้ว เราก็ไม่ล้มเลิก เพราะเราจะไปหานาย!! นาซ่าเค้าว่ายังงั้นน่ะ
การเดินทางของยาน New Horizons จึงได้เริ่มต้นขึ้น เดินทางออกจากโลกของเราผ่านวงโคจรของดาวพฤหัส อาศัยแรงเหวี่ยงส่งให้เดินทางไปได้ไกลขึ้นอีก เพื่อจุดหมายคือดาวพลูโตอันไกลโพ้น ภายใต้เงื่อนไขและการคำนวนแล้วว่าจะต้องทำให้ได้ภายใน9ปี เพราะถ้าช้าไปกว่านี้ พลูโตจะเข้าสู่ฤดูหนาวที่ยาวนาน 62 ปี และจะไม่สามารถเก็บข้อมูลเพื่อวิจัยได้!! สำหรับวันนี้แล้ว การสำรวจอวกาศครั้งนี้จึงหมายถึงความก้าวหน้าและความมหัศจรรย์ของมนุษย์โลก ที่สามารถคำนวน ระยะทาง วิถีการโคจรทั้งดาวและยานอวกาศได้ นอกจากนี้ยังหมายถึงเทคโนโลยีที่เราตั้งโปรแกรมให้ ยานลำนี้ เก็บข้อมูลและคอยส่งข้อมูลกลับมายังโลกเราได้ แม้กระทั่งระบบซ่อมแซมและแก้ไขตัวเองในกรณีไม่คาดฝัน ดังเช่น เมื่อ 7 วันที่แล้ว (7 กค 2015) ยาน New Horizons ขาดการติดต่อเป็นระยะเวลาหนึ่ง ทำให้เหล่านักดาราศาสตร์กังวลและกลัวมากกกกก เพราะถ้ายานเป็นอะไรไปจริงๆ ความพยายามกว่า 9 ปีก็ล้มเหลว แต่สุดท้ายแล้ว นิวฮอไรซอนก็กลับมาติดต่อได้ใหม่หลังจากเข้าสู่ Safe Modeเพื่อแก้ไขตัวเอง รอดไป!!
และนั่นก็คือ 175 ปี ของการเดินทางตามหาความฝันของมนุษย์โลก นับจากวันที่บรรพรุษของเราได้แหงนหน้ามองขึ้นไปบนท้องฟ้าอันกว้างใหญ่ไพศาล วาดภาพดาวดวงน้อยอันไกลโพ้นที่ไม่อาจหยั่งถึงการมีอยู่ภายในจักรวาลที่ไม่สิ้นสุด ความฝันถูกพินิจพิเคราะห์ผ่านหลากหลายทฤษฎีตกตะกอน เป็นการคำนวนที่เฉียบแหลม ส่งผ่านความพยายามของลูกหลานที่อดทนอดกลั้นค้นหาความ
ฝันที่คุณปู่จินตนาการไว้ จนค้นพบว่ามันมีอยู่จริง และเฝ้ารอบ่มเพาะความพยายามเหล่านั้น ถักร้อยผสานเทคโนโลยี เพื่อจะตามไปให้ถึงจุดๆนั้น จุดที่ห่างไกลจากโลกกว่า 4,880ล้านกิโลเมตร
จนมาถึงวันนี้ วันที่เรากำลังจะได้”เห็น”และ”สัมผัส” ความฝันที่เหล่าคุณปู่คุณย่านักดาราศาสตร์ช่างฝันทิ้งไว้ให้เราได้เป็นมนุษย์โลกยุคแรกที่ได้รู้จักตัวตนที่แท้จริงของเค้า “พลูโต"
นี่ผมเล่าสั้นๆแล้วใช่มั้ยวะ55
จบแล้วครับ สนุกมั้ย หลายคนงงว่าผมตื่นเต้นอะไรขนาดนั้น หวังว่า ถ้าได้อ่านเรื่องราวของเค้าแล้ว ทุกคนจะตื่นเต้นแล้วก็อินไปด้วยกันมากขึ้นนะครับ เย้
ผมเรียบเรียงและเล่าผ่านสิ่งที่เคยอ่านและติดตามมา ทั้งหนังสือ เวบไซต์ต่างๆ อ้างอิงข้อมูลจาก สื่อต่างๆ ทั้ง สารคดีของไทยรัฐ ข่าวของวอยซ์ทีวี บทความของนักวิทยาศาสตร์หลายๆท่าน ขอบคุณสำหรับข้อมูลด้วยนะครับ ใช้เวลานานเพราะเปิดเทียบข้อมูลไปด้วย เดี๋ยวผิด แต่ถ้าพบข้อผิดพลาดตรงใหนบอกด้วยน้าาา
ข้อมูล ทั้งหมด ทุกตัวอักษร คนที่เขียนเรื่องนี้จริงๆ เป็น ของคุณ
Patto Narimoto Chonpanatarak (ในเฟสบุ้ค) คิดว่าเรื่องนี้ มันน่าประทับใจ อ่านแล้วอยากแชร์ให้ชาวโลกรู้ว่าวันนี้ที่เราได้เห็นดาวพลูโต มันเป็นการรอคอย และการศึกษา ร่วมๆ เกือบ 200 ปี อย่าให้แค่เกรียนคีย์บอร์ด มาแทรกข่าวของ พลูโต ในวันที่ นักวิทยาศาสตร์ รอคอย หืมมม ขอบคุณ คุณ
Patto Narimoto Chonpanatarak สำหรับเรื่องราวที่ได้ถ่ายทอดอีกครั้งหนึ่งค่ะ ขอบคุณ สำหรับความรู้ ที่น่าติดตาม 5555 อ่านจบแล้วอยากหาอ่านเพิ่มเลยค่ะ เพื่อประดับหัวสมอง 55555
มาดูกันว่าทำไมนักวิทย์ถึงตื่นเต้นกับดาวพลูโต จะพาไปดูการเดินทางของการค้นพบ ตามมาๆ
บนการเดินทางที่ยังอยู่ไกลลิบตา แต่กาลเวลายังคงกระซิบถึงกัน
จักรวาลกว้างใหญ่ไพศาล แต่ว่างเปล่า ๆ เหงาเหลือเกิน
รู้มั้ยครับ ว่าทำไมวันนี้ดาวพลูโตถึงโดดเด่น โด่งดังกว่าทุกๆวัน ทำไมในไทม์ไลน์มีคนพูดถึงคุณพลูโต(ที่ไม่ใช่หมาของมิกกี้เม้าส์)เต็มหมด ใช่ครับ เพราะวันนี้เป็นวันที่ ยานอวกาศ นิวฮอไรซัน จะเดินทางเข้าใกล้ดาวพลูโตมากที่สุดในประวัติศาสตร์ ทำให้เราได้เห็นรายละเอียดมากขึ้นมากๆ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
แต่สำหรับคนที่ชื่นชอบดวงดาว(ที่ไม่ใช่แนวพระศุกร์เข้าพระเสาร์แทรก) โดยเฉพาะนักวิทยาศาสตร์หรือนักดาราศาสตร์ การเข้าใกล้ครั้งนี้มันยิ่งใหญ่กว่าความรู้สึกของคนทั่วไปที่เห็นข่าวนี้ตามหน้านิวส์ฟีดยิ่งนักครับ เพราะพลูโต มีเรื่องราวมากกว่านั้น มากกว่า 9 ปีที่ผ่านมา
เรื่องมันย้อนกลับไป เมื่อ 175 ปีก่อน ผมชอบที่เพื่อนผมคนนึงตั้งข้อสังเกตว่า "ยังจำได้เลยว่าตอนเรียนประถมหนังสือดาราศาสตร์จะมีแค่ภาพวาดพลูจากจินตนาการเท่านั้น ...เออจริงด้วยเนอะ!!
เรื่องมันย้อนกลับไป เมื่อ 175 ปีก่อน (ใช่ครับ เรื่องมันยาวนานขนาดนั้นจริงๆ แต่ผมสัญญาว่าจะเล่าแค่สั้นๆจริงๆ)
เริ่มจากการมโน (อย่างมีเหตุผลนะ) ตั้งสมมติฐาน อดทนพยายาม และตามไปจนเจอ
คศ. 1840 (หลังอังกฤษปฏิวัติอุตสาหกรรม เจมส์วัตต์ พัฒนาเครื่องจักรไอน้ำได้แล้ว) ตอนนั้นมาร์คซักกะเบิกยังไม่เกิด เหล่านักดาราศาสตร์แม่มไม่มีเฟซบุ๊คให้เล่น เอลเลนยังไม่เผยแพร่ลัทธิเซลฟี่ผ่านงานประกาศรางวัลออสการ์ คุณปู่นักดูดาวเหล่านี้เลยนั่งคำนวนการโคจรของดวงดาวดาวต่างๆเล่นเป็นงานอดิเรกไปเรื่อย โดยเฉพาะการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ(เรียงไปเลย ใกล้ดวงอาทิตย์สุดคือ พุธ ศุกร์ โลก อังคาร พฤหัส เสาร์ ยูเรนัส เนปจูน-ไกลสุด) คำนวนเล่นๆอยู่ดีๆก็มโนไงว่า เหร้ยยย ทำไมวงโคจรของ ยูเรนัส กับ เนปจูน มันแปลกๆวะแกร มันดูขัดๆกันเนอะ เหมือนมีอะไรมาขวาง “กรูว่าต้องมีอะไรบางอย่างอยู่ลิบๆไกลกว่าเนปจูนอีกดวงแน่ๆเลยว่ะ” (ซึ่งอิตอนค้นพบ เนปจูน มันก็มโนว่าวงโคจรยูเรนัสแปลกๆเหมือนกัน)
ผมคำนวนได้จริงๆนะ แต่ผมแค่ยังหาไม่เจอ!!
คศ 1906 เพอร์ซิวัล โลเวล ผู้ดีอังกฤษคนนี้ว่างกว่าเดิมอีกเมิง สร้างหอดูดาวขึ้นมาเพื่อสังเกตและ”ตามล่า”หาดาวดวงที่บังเอิญมารบกวนวงโคจรของท่าน เนปจูนโดยเฉพาะ คุณโลเวลตั้งชื่อว่า ดาวเคราะห์X คือกุไม่รู้ไงชื่อไร เอ็กซ์ละกัน คำนวนแล้วคำนวนอีก ส่องหาแล้วส่องหาอีก ทำอย่างนี้อยู่ 11 ปี ตายเลยว่ะ คือ ตายก่อนจะค้นพบดาวเคราะห์เอ็กซ์ที่เป็นเหมือนกับภาพฝันที่มนุษย์โลกเชื่อว่าต้องมีแน่ๆมาเกือบ70ปี แต่ไม่เจอ เฮ่อออ เสียดายเนอะ น่าสงสารด้วย อุตส่าห์คำนวนได้อย่างแม่นยำและพยายามขนาดนั้นแล้วแท้ๆ
แต่แล้ว อีกเกือบ 20ปีต่อมา ไคลด์ทอมบอก์ หนุ่มวัย24 เสรือกเจอเว่ยยยย คือใช้หอดูดาวของคุณโลเวลเนี่ยล่ะ แต่หมอนี่แม่มเทพสัสๆ คือใช้เครื่องวัดเทียบกระพริบ อธิบายง่ายๆคือ เอาภาพที่บันทึกแสงดวงดาวจากท้องฟ้าในแต่ละช่วง แต่ละวัน มานั่งจ้องเทียบกันในแต่ละวันว่า มีแสงอันไหนเคลื่อนที่มั่งวะ ถ้าขยับได้แปลว่านั่นคือดาวเคราะห์ นางนั่งจ้องอยู่อย่างนี้ทุกวันๆ ๆ ๆ ๆ ๆ อดทนพยายามนั่งเทียบไปมา จนวันนึงนางพบว่า ทำไมแสงดาวดวงนี้มันเคลื่อนที่จากเดิมมา 3 มิลลิเมตร! .....เหร้ยยย 3 มิลลิเมตร นี่สั้นกว่าขนจมูกอีกนะว้อยย เจอแล้วเห้ย!! เจอดาวเคราะห์ที่มารบกวนการโคจรของยูเรนัสกับเนปจูนเข้าให้แล้วววววว และนั่นก็คือวันที่ 18 กุมภา ปี 1930 วันที่มนุษย์โลกค้นพบการมีอยู่ของ ดาวพลูโต นับจากวันที่แรกเรานั่งมโนและเชื่อว่ามีอยู่จริง 90 ปี!!
เกือบไม่ได้เป็นน้องคนสุดท้อง เพราะนักวิทย์พยายามหาบริวารลำดับที่10 !!
เราเจอพลูโต แล้ว แต่ตอนแรกนักวิทยาศาสตร์เค้าบอกว่า แกมันดวงเล็กไปว่ะ ไม่น่าจะมารบกวนการเคลื่อนที่ของท่านยูเรนัสและเนปจูนของเราได้ พวกนางไม่เชื่อเว้ยยยว่าพลูโตจะทำยังงั้นได้ พวกนางเลยหาดาวเคราะห์ดวงที่10ต่อ(ซึ่งเคยพบดวงที่10ชื่อว่า อีรีสแต่โดนตัดไปแล้วเช่นกัน) โชคดียานแม่ลำหนึ่งของเรา (ยานอวกาศวอยซ์เอเจอร์2) เก็บข้อมูลของพลูโตมาได้เพิ่มเติมว่ามีมวลมากพอ นักวิทยาศาสตร์ทั้งหลายเลยยอมเชื่อ และเลิกคิดว่าจะมีดาวเคราห์บริวารดวงอาทิตย์ลำดับที่10 พลูโตเลยได้เป็นน้องคนสุดท้อง คือลำดับที่9จนได้ เย้!
หยุดความดีใจไว้แค่นั้นแหล่ะอิพลูโต แกมันก็แค่ดาวเคราะห์แคระ!!
ดีใจอยู่76 ปี พลูโตก็โดนตั้งคำถามอีกหลังจากความรุดหน้าในการสำรวจอวกาศพบว่า “เหร้ยยยยย ดาวเคราะห์แบบแกนี่มันก็มีเยอะแยะเลยนี่หว่าาาา แถวๆขอบจักรวารที่เลยเนปจูนไปเนี่ยนะ มีดาวหน้าตาคล้ายๆแกเต็มเลยว่ะ” ในปี2006 นักดาราศาสตร์กว่า 2,500 คนตั้งนิยามดาวเคราะห์ขึ้นมาใหม่ให้รัดกุมยิ่งขึ้น เพราะไม่งั้นดาวหรือวัตถุใดๆที่ค้นพบใหม่เรื่อยๆ ก็จะต้องถูกเหมารวมให้กลายเป็นดาวเคราะห์ไปด้วย ซึ่งยิ่งสำรวจยิ่งเจอ ถ้าไม่นิยามใหม่ มีหวังเราได้มีดาวบริวารรอบดวงอาทิตย์อีกเป็นสิบเป็นร้อยเลยนะแกร! นั่นล่ะฮะคุณผู้ชม (เอ้า น้องไบรท์อ่านต่อซิ เอ๊ยไม่ใช่!) พอนิยามใหม่ ดาวพลูโตเลยหลุดจากการเป็นดาวเคราะห์บริวารลำดับ 9 ของดวงอาทิตย์ กลายเป็นเพียงแค่ ดาวเคราะห์แคระ!! โถ่ น่าฉงฉาน อุตส่าห์ตามหากันมาตั้งนาน!!
แต่อย่าน้อยใจไปเลยเพื่อน!
เพราะก่อนหน้าที่นายจะโดนตัดออกจากกองมรดก ตาม บรรพ6 มาตรา1559 ของประมวลกฎหมายแพ่งและพานิชย์แล้ว(เอ่อ เติมให้มันดูมีสาระไปงั้นล่ะ) แต่พวกเราส่งยานไปสำรวจนายก่อนหน้านั้นแล้ว!! YEAH! รู้มั้ยทำไมเราสนใจนาย เพราะนายอยู๋ไกลจากเรามากกกกกกก มากที่สุดเลย เราเลยไม่รู้อะไรเกี่ยวกับนายเลย เราได้แต่คิด คำนวน เดา มโนถึงแต่นายว่าจะเป็นยังไงมั่งนะ คือเราไม่เคยเห็นภาพโปรไฟล์นายเลยไง เราเลยอยากรู้จักนาย และนั่นคือความท้าทายของเราด้วย ท้าทายความสามารถของมนุษย์โลกนี่ล่ะ ว่าจะเดินทางไปถึงนายได้มั้ย เพราะฉะนั้น เราจึงได้ปล่อยยาน New Horizons ออกไปหานายตอน เดือนมกราคม 2006 และแม้ว่าอีก 7เดือนต่อมา ในเดือนสิงหาคม จะมีมติตัดนายออกไปแล้ว เราก็ไม่ล้มเลิก เพราะเราจะไปหานาย!! นาซ่าเค้าว่ายังงั้นน่ะ
การเดินทางของยาน New Horizons จึงได้เริ่มต้นขึ้น เดินทางออกจากโลกของเราผ่านวงโคจรของดาวพฤหัส อาศัยแรงเหวี่ยงส่งให้เดินทางไปได้ไกลขึ้นอีก เพื่อจุดหมายคือดาวพลูโตอันไกลโพ้น ภายใต้เงื่อนไขและการคำนวนแล้วว่าจะต้องทำให้ได้ภายใน9ปี เพราะถ้าช้าไปกว่านี้ พลูโตจะเข้าสู่ฤดูหนาวที่ยาวนาน 62 ปี และจะไม่สามารถเก็บข้อมูลเพื่อวิจัยได้!! สำหรับวันนี้แล้ว การสำรวจอวกาศครั้งนี้จึงหมายถึงความก้าวหน้าและความมหัศจรรย์ของมนุษย์โลก ที่สามารถคำนวน ระยะทาง วิถีการโคจรทั้งดาวและยานอวกาศได้ นอกจากนี้ยังหมายถึงเทคโนโลยีที่เราตั้งโปรแกรมให้ ยานลำนี้ เก็บข้อมูลและคอยส่งข้อมูลกลับมายังโลกเราได้ แม้กระทั่งระบบซ่อมแซมและแก้ไขตัวเองในกรณีไม่คาดฝัน ดังเช่น เมื่อ 7 วันที่แล้ว (7 กค 2015) ยาน New Horizons ขาดการติดต่อเป็นระยะเวลาหนึ่ง ทำให้เหล่านักดาราศาสตร์กังวลและกลัวมากกกกก เพราะถ้ายานเป็นอะไรไปจริงๆ ความพยายามกว่า 9 ปีก็ล้มเหลว แต่สุดท้ายแล้ว นิวฮอไรซอนก็กลับมาติดต่อได้ใหม่หลังจากเข้าสู่ Safe Modeเพื่อแก้ไขตัวเอง รอดไป!!
และนั่นก็คือ 175 ปี ของการเดินทางตามหาความฝันของมนุษย์โลก นับจากวันที่บรรพรุษของเราได้แหงนหน้ามองขึ้นไปบนท้องฟ้าอันกว้างใหญ่ไพศาล วาดภาพดาวดวงน้อยอันไกลโพ้นที่ไม่อาจหยั่งถึงการมีอยู่ภายในจักรวาลที่ไม่สิ้นสุด ความฝันถูกพินิจพิเคราะห์ผ่านหลากหลายทฤษฎีตกตะกอน เป็นการคำนวนที่เฉียบแหลม ส่งผ่านความพยายามของลูกหลานที่อดทนอดกลั้นค้นหาความ
ฝันที่คุณปู่จินตนาการไว้ จนค้นพบว่ามันมีอยู่จริง และเฝ้ารอบ่มเพาะความพยายามเหล่านั้น ถักร้อยผสานเทคโนโลยี เพื่อจะตามไปให้ถึงจุดๆนั้น จุดที่ห่างไกลจากโลกกว่า 4,880ล้านกิโลเมตร
จนมาถึงวันนี้ วันที่เรากำลังจะได้”เห็น”และ”สัมผัส” ความฝันที่เหล่าคุณปู่คุณย่านักดาราศาสตร์ช่างฝันทิ้งไว้ให้เราได้เป็นมนุษย์โลกยุคแรกที่ได้รู้จักตัวตนที่แท้จริงของเค้า “พลูโต"
นี่ผมเล่าสั้นๆแล้วใช่มั้ยวะ55
จบแล้วครับ สนุกมั้ย หลายคนงงว่าผมตื่นเต้นอะไรขนาดนั้น หวังว่า ถ้าได้อ่านเรื่องราวของเค้าแล้ว ทุกคนจะตื่นเต้นแล้วก็อินไปด้วยกันมากขึ้นนะครับ เย้
ผมเรียบเรียงและเล่าผ่านสิ่งที่เคยอ่านและติดตามมา ทั้งหนังสือ เวบไซต์ต่างๆ อ้างอิงข้อมูลจาก สื่อต่างๆ ทั้ง สารคดีของไทยรัฐ ข่าวของวอยซ์ทีวี บทความของนักวิทยาศาสตร์หลายๆท่าน ขอบคุณสำหรับข้อมูลด้วยนะครับ ใช้เวลานานเพราะเปิดเทียบข้อมูลไปด้วย เดี๋ยวผิด แต่ถ้าพบข้อผิดพลาดตรงใหนบอกด้วยน้าาา
ข้อมูล ทั้งหมด ทุกตัวอักษร คนที่เขียนเรื่องนี้จริงๆ เป็น ของคุณ Patto Narimoto Chonpanatarak (ในเฟสบุ้ค) คิดว่าเรื่องนี้ มันน่าประทับใจ อ่านแล้วอยากแชร์ให้ชาวโลกรู้ว่าวันนี้ที่เราได้เห็นดาวพลูโต มันเป็นการรอคอย และการศึกษา ร่วมๆ เกือบ 200 ปี อย่าให้แค่เกรียนคีย์บอร์ด มาแทรกข่าวของ พลูโต ในวันที่ นักวิทยาศาสตร์ รอคอย หืมมม ขอบคุณ คุณ Patto Narimoto Chonpanatarak สำหรับเรื่องราวที่ได้ถ่ายทอดอีกครั้งหนึ่งค่ะ ขอบคุณ สำหรับความรู้ ที่น่าติดตาม 5555 อ่านจบแล้วอยากหาอ่านเพิ่มเลยค่ะ เพื่อประดับหัวสมอง 55555