การที่องค์กรบางเเห่ง ไม่รับผู้สมัครงานที่จบจากมหาวิทยาลัยอื่น ซึ่งอยู่นอกจากรายชื่อที่กำหนด เป็นปัญหาการศึกษา เเละชนชั้นของสังคมที่เเทบจะถูกกำหนดชะตาชีวิตไว้ตั้งเเต่ตอนเลือกเรียนมหาลัยเลยทีเดียว จึงอยากถามว่า ท่านมีความเห็นอย่างไรบ้างหาก
มีหน่วยงานกลางเเละมีการจัดสอบข้อสอบกลางที่มีมาตรฐาน รูปแบบคือ
เเบบ A (เต็มที่)
1 มีหน่วยงานจัดสอบวัดผล ทุกวิชา (อย่างน้อยทุกวิชาที่เป็นวิชาหลักของสาขานั้น ๆ ) วิชาละ 2 ครั้งคือ มิดเทอม เเละไฟนอล เเล้วตัดเกรดเเบบอิงเกณฑ์ ไม่อิงกลุ่ม (อิงเกณฑ์หมายถึงถ้าทำข้อสอบได้คะเเนนถึงระดับที่กำหนดก็ได้เกรดนั้นไป โดยไม่สนว่ามีคนได้เกรดนั้นเเล้วกี่คน : เเข่งขันกับตัวเอง ไม่ต้องเเข่งกับเพื่อน) เเล้วนำเกรดนั้น ลงใน Transcript เหมือนกันทุกมหาลัยไม่ว่ารัฐหรือเอกชน
โดยคะเเนนเเยกเป็นสองส่วนคือส่วนผลสอบวิชาการ (ใช้ข้อสอบกลาง) เเละ ส่วนงานที่ได้รับมอบหมาย assignment อาจารย์ผู้สอนเป็นผู้ให้ ซึ่งใน transcript จะเอาสองส่วนมารวมกัน เป็นเกรดรวมเกรดเดียวหรือเเยกเป็นสองเกรด ใส่ใน transcript คนละช่อง ก็ว่ากันอีกทีตามข้อสรุปที่ได้เเต่ต้องทำเหมือนกันทุกมหาลัย เเต่สามารถคิดเกรเฉลี่ยเฉพาะข้อสอบกลางได้เพื่อวัดผลโดยไม่มีเรื่องชื่อสถาบันมาเกี่ยวข้อง วัดกันที่คะเเนน
เงื่อนไข
1.1 หน่วยงานต้องไม่มีข้อสอบรั่ว คนออกข้อสอบต้องไม่กระจุกมหาลัยเดียว 1.2 ข้อสอบต้องได้มาตรฐาน ออกในเเก่นความรู้ของวิชานั้นจริง ๆ เเละต้องไม่ใช่ข้อสอบเดาใจผู้ออกข้อสอบ (เช่นมีอารมณ์ต้องทำอะไร จะไปหาเพื่อน จะไปเที่ยว หรือ จะ.. ทำไมต้องบังคับให้ไปเตะบอลอย่างเดียว บางทีสภาพเเวดล้อมเเละจังหวะชีวิตกรูช่วงที่สอบอาจไม่เอื้อให้ไปเเตะบอลก็ได้)
เเบบ B (สอบก่อนเรียนจบครั้งเดียว)
เหมือน แบบ A เพียงเเต่ ก่อนเรียนจบให้มาสอบมาตรฐานกลางนี้ก่อน หนึ่งครั้งถึงจบได้ เเต่ ไม่มีการสอบตก คะเเนนไม่อยู่ใน Transcript เเต่เเสดงเเค่มาสอบครั้งเเรกหรือยัง ที่บังคับให้สอบก่อน หนึ่งครั้งใช้เป็นคะเเนนติดตัว เเล้วถ้าไม่พอใจก็มายื่นขอสอบใหม่เหมือนสอบ TOEIC TOFLE (เเต่ไม่ให้สอบเกิน 8 ครั้ง กันเด็กโข่ง) เเล้วรัฐก็ส่งเสริม สำหรับผู้สอบมาตรฐานนี้ ถ้าคะเเนนเกิน 80 % ได้วุฒิบัตรพิเศษ ถ้าหน่วยงานจ้างทำงานมีสิทธิพิเศษให้หน่วยงาน เช่น ลดหย่อนภาษี ฯลฯ เพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้เด็กที่จบ ม.ไม่ดัง ได้เเสดงความรู้ โดยไม่มีเรื่องอคติชื่อมหาลัยมาปิดกั้น เพราะข้อสอบเหมือนกัน ใครเก่งจริงก็ได้คะเเนนสูงไป
เงื่อนไข
เหมือนแบบ A เเละเพิ่ม
1 ไม่ควรใช้เป็นข้อกำหนดว่าถ้าสอบไม่ผ่านไม่จบ เพราะไม่ยุติธรรม บางคนตั้งใจเรียนมา 4 ปี เเต่ช่วงมีสอบมาตรฐานอาจ อกหัก ญาติเสีย ข้างบ้านส่งเสียงจนไม่ได้นอน ป่วย ฯลฯ จึงเป็นการสอบเพื่อเก็บคะเเนนไว้เท่านั้นไม่มีสอบตก
2 ให้ความสำคัญกับคะเเนนที่เกิน 80 % เท่านั้นที่ได้การส่งเสริม ไม่งั้นคนตั้งใจเรียน 4 ปี มาเเพ้คนที่สอบได้คะเเนนมาตรฐานดีเเค่ครั้งเดียวไม่ยุติธรรมนัก เเต่ถ้าสอบได้ 80% ขึ้นก็สนับสนุนเเสดงว่ามีความรู้ในวิชาที่ตนเรียนในระดับหนึ่ง (ข้อสอบต้องได้มาตรฐาน)
หรือมีรูปเเบบอื่น ก็เเสดงความเห็นได้เลยครับ เน้นเพื่อเเก้ปัญหา
1 ความเหลื่อมล้ำด้านโอกาส ที่สาเหตุมาจากชื่อเสียงมหาวิทยาลัย
2 การวัดความสามารถคนในตลาดเเรงงาน ที่เป็นธรรม เท่าเทียมเเละมีมาตรฐาน
เห็นด้วยไหม ถ้าจะมีข้อสอบกลางระดับมหาวิทยาลัย
มีหน่วยงานกลางเเละมีการจัดสอบข้อสอบกลางที่มีมาตรฐาน รูปแบบคือ
เเบบ A (เต็มที่)
1 มีหน่วยงานจัดสอบวัดผล ทุกวิชา (อย่างน้อยทุกวิชาที่เป็นวิชาหลักของสาขานั้น ๆ ) วิชาละ 2 ครั้งคือ มิดเทอม เเละไฟนอล เเล้วตัดเกรดเเบบอิงเกณฑ์ ไม่อิงกลุ่ม (อิงเกณฑ์หมายถึงถ้าทำข้อสอบได้คะเเนนถึงระดับที่กำหนดก็ได้เกรดนั้นไป โดยไม่สนว่ามีคนได้เกรดนั้นเเล้วกี่คน : เเข่งขันกับตัวเอง ไม่ต้องเเข่งกับเพื่อน) เเล้วนำเกรดนั้น ลงใน Transcript เหมือนกันทุกมหาลัยไม่ว่ารัฐหรือเอกชน
โดยคะเเนนเเยกเป็นสองส่วนคือส่วนผลสอบวิชาการ (ใช้ข้อสอบกลาง) เเละ ส่วนงานที่ได้รับมอบหมาย assignment อาจารย์ผู้สอนเป็นผู้ให้ ซึ่งใน transcript จะเอาสองส่วนมารวมกัน เป็นเกรดรวมเกรดเดียวหรือเเยกเป็นสองเกรด ใส่ใน transcript คนละช่อง ก็ว่ากันอีกทีตามข้อสรุปที่ได้เเต่ต้องทำเหมือนกันทุกมหาลัย เเต่สามารถคิดเกรเฉลี่ยเฉพาะข้อสอบกลางได้เพื่อวัดผลโดยไม่มีเรื่องชื่อสถาบันมาเกี่ยวข้อง วัดกันที่คะเเนน
เงื่อนไข
1.1 หน่วยงานต้องไม่มีข้อสอบรั่ว คนออกข้อสอบต้องไม่กระจุกมหาลัยเดียว 1.2 ข้อสอบต้องได้มาตรฐาน ออกในเเก่นความรู้ของวิชานั้นจริง ๆ เเละต้องไม่ใช่ข้อสอบเดาใจผู้ออกข้อสอบ (เช่นมีอารมณ์ต้องทำอะไร จะไปหาเพื่อน จะไปเที่ยว หรือ จะ.. ทำไมต้องบังคับให้ไปเตะบอลอย่างเดียว บางทีสภาพเเวดล้อมเเละจังหวะชีวิตกรูช่วงที่สอบอาจไม่เอื้อให้ไปเเตะบอลก็ได้)
เเบบ B (สอบก่อนเรียนจบครั้งเดียว)
เหมือน แบบ A เพียงเเต่ ก่อนเรียนจบให้มาสอบมาตรฐานกลางนี้ก่อน หนึ่งครั้งถึงจบได้ เเต่ ไม่มีการสอบตก คะเเนนไม่อยู่ใน Transcript เเต่เเสดงเเค่มาสอบครั้งเเรกหรือยัง ที่บังคับให้สอบก่อน หนึ่งครั้งใช้เป็นคะเเนนติดตัว เเล้วถ้าไม่พอใจก็มายื่นขอสอบใหม่เหมือนสอบ TOEIC TOFLE (เเต่ไม่ให้สอบเกิน 8 ครั้ง กันเด็กโข่ง) เเล้วรัฐก็ส่งเสริม สำหรับผู้สอบมาตรฐานนี้ ถ้าคะเเนนเกิน 80 % ได้วุฒิบัตรพิเศษ ถ้าหน่วยงานจ้างทำงานมีสิทธิพิเศษให้หน่วยงาน เช่น ลดหย่อนภาษี ฯลฯ เพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้เด็กที่จบ ม.ไม่ดัง ได้เเสดงความรู้ โดยไม่มีเรื่องอคติชื่อมหาลัยมาปิดกั้น เพราะข้อสอบเหมือนกัน ใครเก่งจริงก็ได้คะเเนนสูงไป
เงื่อนไข
เหมือนแบบ A เเละเพิ่ม
1 ไม่ควรใช้เป็นข้อกำหนดว่าถ้าสอบไม่ผ่านไม่จบ เพราะไม่ยุติธรรม บางคนตั้งใจเรียนมา 4 ปี เเต่ช่วงมีสอบมาตรฐานอาจ อกหัก ญาติเสีย ข้างบ้านส่งเสียงจนไม่ได้นอน ป่วย ฯลฯ จึงเป็นการสอบเพื่อเก็บคะเเนนไว้เท่านั้นไม่มีสอบตก
2 ให้ความสำคัญกับคะเเนนที่เกิน 80 % เท่านั้นที่ได้การส่งเสริม ไม่งั้นคนตั้งใจเรียน 4 ปี มาเเพ้คนที่สอบได้คะเเนนมาตรฐานดีเเค่ครั้งเดียวไม่ยุติธรรมนัก เเต่ถ้าสอบได้ 80% ขึ้นก็สนับสนุนเเสดงว่ามีความรู้ในวิชาที่ตนเรียนในระดับหนึ่ง (ข้อสอบต้องได้มาตรฐาน)
หรือมีรูปเเบบอื่น ก็เเสดงความเห็นได้เลยครับ เน้นเพื่อเเก้ปัญหา
1 ความเหลื่อมล้ำด้านโอกาส ที่สาเหตุมาจากชื่อเสียงมหาวิทยาลัย
2 การวัดความสามารถคนในตลาดเเรงงาน ที่เป็นธรรม เท่าเทียมเเละมีมาตรฐาน