คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 14
ธิเบตเป็นของจีนอย่างไม่ต้องสงสัยครับ แน่นอนว่าธิเบตวัฒนธรรม ภาษา อาจจะแตกต่างจากส่วนอื่นๆของจีน แต่จีนเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่โต พื้นที่และประชากรมาก และจีนก็ไม่ใช่ประเทศของชาวฮั่นเพียงเผ่าเดียว แต่มีสารพัดชนเผ่ารวมกันอยู่ แม้แต่ในกลุ่มชาวฮั่นเองพวกที่อยู่ภาคเหนือกับภาคใต้ก็มีวัฒนธรรมที่แตกต่างกันอยู่แล้ว การใช้เหตุผลด้านว่าพูดกันคนละภาษาและวัฒนธรรมจึงใช้ตัดสินไม่ได้ในกรณีของชาติที่เกิดจากคนหลายๆกลุ่มมารวมกันแบบจีน
มาดูด้านกฎหมายระหว่างประเทศ ธิเบตก็เป็นของจีนอยู่ดี ไม่เคยมีประเทศธิเบตในโลก อาณาจักรอิสระของธิเบตย้อนไปได้ไกลถึงสมัยอาณาจักรทู่ฝานแต่นั่นมันก็คือเรื่องที่ผ่านไปแล้ว สมัยราชวงศ์ชิงธิเบตเป็นมณฑลหนึ่งของจีน ดังนั้นสาธารณรัฐและสาธารณรัฐประชาชนจีนที่เป็นรัฐทายาทของราชสำนักชิงก็มีสิทธิอันชอบธรรมในการรักษาดินแดนของตนเอาไว้
ในช่วงที่จีนอ่อนแอ รัฐบาลกลางขาดเสถียรภาพในช่วงปี 1911-1949 ธิเบตก็เหมือนดินแดนส่วนอื่นๆของจีนที่ไม่เชื่อฟังรัฐบาลกลางที่ไร้อำนาจ แต่เมื่อรัฐบาลกลางเข้มแข็งพอจะส่งกองทัพไปยึดอำนาจจากขุนศึกที่ปกครองดินแดนเหล่านั้นเอาไว้ก็เป็นเรื่องปกติครับ
หลายๆท่านในนี้กล่าวถูกต้องที่ธิเบตเป็นของจีนแน่นอนไม่มีอะไรต้องสงสัย สิ่งที่ควรจะคำนึงคือเรื่องปากท้องของชาวธิเบต หรือจะสิทธิมนุษยชนตามมาตรฐานตะวันตกก็ตามแต่มากกว่าคำนึงถึงสถานะของธิเบต
มาดูด้านกฎหมายระหว่างประเทศ ธิเบตก็เป็นของจีนอยู่ดี ไม่เคยมีประเทศธิเบตในโลก อาณาจักรอิสระของธิเบตย้อนไปได้ไกลถึงสมัยอาณาจักรทู่ฝานแต่นั่นมันก็คือเรื่องที่ผ่านไปแล้ว สมัยราชวงศ์ชิงธิเบตเป็นมณฑลหนึ่งของจีน ดังนั้นสาธารณรัฐและสาธารณรัฐประชาชนจีนที่เป็นรัฐทายาทของราชสำนักชิงก็มีสิทธิอันชอบธรรมในการรักษาดินแดนของตนเอาไว้
ในช่วงที่จีนอ่อนแอ รัฐบาลกลางขาดเสถียรภาพในช่วงปี 1911-1949 ธิเบตก็เหมือนดินแดนส่วนอื่นๆของจีนที่ไม่เชื่อฟังรัฐบาลกลางที่ไร้อำนาจ แต่เมื่อรัฐบาลกลางเข้มแข็งพอจะส่งกองทัพไปยึดอำนาจจากขุนศึกที่ปกครองดินแดนเหล่านั้นเอาไว้ก็เป็นเรื่องปกติครับ
หลายๆท่านในนี้กล่าวถูกต้องที่ธิเบตเป็นของจีนแน่นอนไม่มีอะไรต้องสงสัย สิ่งที่ควรจะคำนึงคือเรื่องปากท้องของชาวธิเบต หรือจะสิทธิมนุษยชนตามมาตรฐานตะวันตกก็ตามแต่มากกว่าคำนึงถึงสถานะของธิเบต
สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 7
เป็นของจีนแต่เดิมแล้ว ก่อนสมัยลามะก็ล้มหวางซีจั้น และราชวงศ์ แล้วตั้งตัวเป็นใหญ่แบบก๊กเจ้าพระฝาง
โดยมีมองโกลหนุนหลัง พอเข้ายุคหมิงก็จิ้มก้องกันมาตลอด จนต้าชิงยึดซิงเกียงได้
ก็ผนวกในแผ่นที่ด้วย และนับถือพุทธ นิกายวัชรญาณ ถ้าไม่ใช่ดินแดนเดียวกันจะสร้างวัดลามะ
ในเป่ยจิง เฉิงเต๋อทำไม แถมจำลองมาจากลาซาด้วย
ดาไล ลามะกับพรรคกงชาง เข้ากันได้ดี มาลงนามที่ ยงเหอกง(วัดลามะ) และมาเยือนเป่ยจิงหลายครั้ง
ปันเชน ลามะ องค์ที่ 10 หารือ กับประธานเหมา ค.ศ.1952 เดือน 3
หัวข้อ การบูรณะศาสนสถาน ปกป้องมรดกทางวัฒนธรรม
ปันเชน ลามะ องค์ที่ 10 เยือนเป่ยจิง 4 กันยายน ค.ศ.1954
จอมพลจูเต๋อ และนายกฯโจวเอินไหล ให้การต้อนรับ ณ สถานีรถไฟเป่ยจิง
บันเชน ลามะ องค์ที่ 10(ซ้าย) ประธานเหมา(กลาง) และลาได ลามะ องค์ที่ 14(ขวา)
เยือนเป่ยจิง 11 กันยายน ค.ศ. 1954 ณ ตำหนัก จงหนานไห่ กู้กง
หลังการลงนาม ข้อตกลงแห่งรัฐบาลกลางของประชาชนจีน กับรัฐบาลท้องถิ่นทิเบต
ว่าด้วยมาตรการปลดปล่อยทิเบตด้วยสันติวิธี
หรือ ข้อตกลงสิบเจ็ดประการ เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2494
โดยดาไล ลามะ องค์ที่ 14 ส่งโทรเลขไปให้รัฐบาลจีนว่า
...รัฐบาลท้องถิ่นทิเบต และประชาชนทิเบตทั้งฝ่ายสงฆ์ และฆราวาส สนับสนุนข้อตกลงนี้อย่างเป็นเอกฉันท์
และส่งโทรเลขถึงประธานเหมาฯว่า
...ข้อตกลงฉบับนี้บรรลุผล บนพื้นฐานแห่งมิตรไมตรีของผู้แทนสองฝ่าย
ในข้อตกลง 17 ประการ มีสาระสำคัญว่า
...ประชาชนชาวทิเบตมีสิทธิปกครองตนเองภายใต้การนำ อย่างมีเอกภาพของรัฐบาลกลาง(จีน)
และรัฐบาลกลาง มีอำนาจดำเนินการเกี่ยวกับ กิจการภายนอกของทิเบตอย่างรวมศูนย์
(ทิเบตยอมรับว่าเป็นส่วนหนึ่งของจีน และจีนให้สัญญาแก่ทิเบต ในการปกครองตนเอง
พร้อมยอมรับการนับถือพุทธศาสนา และองค์ดาไลลามะประมุขแห่งทิเบต มีสถานะเป็นผู้นำศาสนาด้วย
โดยจีนควบคุมด้านการต่างประเทศและกลาโหม ให้สิทธิทางการเมือง ให้ประชาชนเป็นหนึ่งเดียว)
รัฐบาลจีนเริ่มปฏิรูปที่ดินในเขตอู-จั้ง รวมคามตะวันออกและอัมโด เข้ากับมณฑลเสฉวน และมณฑลชิงไห่
ในปี 1952 รัฐบาลอินเดียประกาศว่า
...ต่อไปนี้ความสัมพันธ์ใดๆกับทิเบตจะต้องดำเนินการผ่านรัฐบาลจีน...
ซึ่งก็เท่ากับยอมรับอำนาจอธิปไตยของจีนเหนือทิเบตนั่นเอง
บันเชน ลามะ องค์ที่ 10(ซ้าย) และ ลาได ลามะ องค์ที่ 14(ขวา) หย่อนบัตรลงมติ
เกเช เชรัป กยัตโซ(Geshe Sherab Gyatso) ลามะ หนึ่งในผู้ก่อตั้งพุทธสมาคมแห่งประเทศจีน พ.ศ.2496
สนทนากับประธานเหมา อย่างเป็นกันเอง ในการประชุมสภาประชาชนแห่งชาติ
ณ มหาศาลาประชาชน เป่ยจิง ค.ศ.1954
ดาไล ลามะ องค์ที่ 14(กลาง) พบกับ นายกฯโจวเอินไหล ณ เฉิงตู มณฑลซื่อชวน(เสฉวน) ค.ศ.1955
นายกฯโจวเอินไหล(ซ้าย) ปันเชน ลามะ องค์ที่ 10(ซ้ายถัดมา) ประธานเหมา(กลาง)
ดาไล ลามะ องค์ที่ 14(ขวา) หลิวเส้าฉี(ขวาสุด) ค.ศ.1955
ดาไล ลามะ องค์ที่ 14(ซ้าย) จอมพลเฉินอี้(กลาง) ปันเชน ลามะ องค์ที่ 10(ขวา)
ร่วมดื่มในงานเลี้ยง 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1956
นายกฯโจวเอินไหล พบปะคณะสงฆ์นานาชาติ ณ ตำหนักจงหนานไห่ กู้กง เป่ยจิง 8 ตุลาคม ค.ศ.1956
ในวาระครบรอบ 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ.2500
ปันเชน ลามะ องค์ที่ 10(ซ้ายสุด) ดาไล ลามะ องค์ที่ 14(ซ้ายถัดมา)
นายกฯโจวเอินไหล และนายกฯชวาหระลาล เนห์รู(ขวาสุด)
ให้การต้อนรับคณะจากจีน ณ สนามบินแห่งชาติ กรุงนิวเดลี อินเดีย
เนื่องในวาระครอบรอบ 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ.2500
25 พฤศจิกายน ค.ศ.1956
พระพุทธเจ้า คือ ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของอินเดีย พอๆกับ พระราม และ พระกฤษณะ ดังนั้น
ข้าพเจ้าจะมิขอนับถือศาสนาใดเลย หากมีการบังคับให้เลือกนับถือ ข้าพเจ้าขอเลือกนับถือพระพุทธศาสนา
เติ้งเสี่ยวผิง ให้การต้อนรับ ปันเชน ลามะ องค์ที่ 10(ขวา) ณ สถานีรถไฟ เป่ยจิง ค.ศ.1958
เติ้งเสี่ยวผิง และปันเชน ลามะ องค์ที่ 10(ขวา) ร่วมดื่มในงานเลี้ยงรับรองโดย นายกโจวเอินไหล
ก่อนการประชุมสภาประชาชน 14 เมษายน ค.ศ.1959
อ้างอิง
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
โดยมีมองโกลหนุนหลัง พอเข้ายุคหมิงก็จิ้มก้องกันมาตลอด จนต้าชิงยึดซิงเกียงได้
ก็ผนวกในแผ่นที่ด้วย และนับถือพุทธ นิกายวัชรญาณ ถ้าไม่ใช่ดินแดนเดียวกันจะสร้างวัดลามะ
ในเป่ยจิง เฉิงเต๋อทำไม แถมจำลองมาจากลาซาด้วย
ดาไล ลามะกับพรรคกงชาง เข้ากันได้ดี มาลงนามที่ ยงเหอกง(วัดลามะ) และมาเยือนเป่ยจิงหลายครั้ง
ปันเชน ลามะ องค์ที่ 10 หารือ กับประธานเหมา ค.ศ.1952 เดือน 3
หัวข้อ การบูรณะศาสนสถาน ปกป้องมรดกทางวัฒนธรรม
ปันเชน ลามะ องค์ที่ 10 เยือนเป่ยจิง 4 กันยายน ค.ศ.1954
จอมพลจูเต๋อ และนายกฯโจวเอินไหล ให้การต้อนรับ ณ สถานีรถไฟเป่ยจิง
บันเชน ลามะ องค์ที่ 10(ซ้าย) ประธานเหมา(กลาง) และลาได ลามะ องค์ที่ 14(ขวา)
เยือนเป่ยจิง 11 กันยายน ค.ศ. 1954 ณ ตำหนัก จงหนานไห่ กู้กง
หลังการลงนาม ข้อตกลงแห่งรัฐบาลกลางของประชาชนจีน กับรัฐบาลท้องถิ่นทิเบต
ว่าด้วยมาตรการปลดปล่อยทิเบตด้วยสันติวิธี
หรือ ข้อตกลงสิบเจ็ดประการ เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2494
โดยดาไล ลามะ องค์ที่ 14 ส่งโทรเลขไปให้รัฐบาลจีนว่า
...รัฐบาลท้องถิ่นทิเบต และประชาชนทิเบตทั้งฝ่ายสงฆ์ และฆราวาส สนับสนุนข้อตกลงนี้อย่างเป็นเอกฉันท์
และส่งโทรเลขถึงประธานเหมาฯว่า
...ข้อตกลงฉบับนี้บรรลุผล บนพื้นฐานแห่งมิตรไมตรีของผู้แทนสองฝ่าย
ในข้อตกลง 17 ประการ มีสาระสำคัญว่า
...ประชาชนชาวทิเบตมีสิทธิปกครองตนเองภายใต้การนำ อย่างมีเอกภาพของรัฐบาลกลาง(จีน)
และรัฐบาลกลาง มีอำนาจดำเนินการเกี่ยวกับ กิจการภายนอกของทิเบตอย่างรวมศูนย์
(ทิเบตยอมรับว่าเป็นส่วนหนึ่งของจีน และจีนให้สัญญาแก่ทิเบต ในการปกครองตนเอง
พร้อมยอมรับการนับถือพุทธศาสนา และองค์ดาไลลามะประมุขแห่งทิเบต มีสถานะเป็นผู้นำศาสนาด้วย
โดยจีนควบคุมด้านการต่างประเทศและกลาโหม ให้สิทธิทางการเมือง ให้ประชาชนเป็นหนึ่งเดียว)
รัฐบาลจีนเริ่มปฏิรูปที่ดินในเขตอู-จั้ง รวมคามตะวันออกและอัมโด เข้ากับมณฑลเสฉวน และมณฑลชิงไห่
ในปี 1952 รัฐบาลอินเดียประกาศว่า
...ต่อไปนี้ความสัมพันธ์ใดๆกับทิเบตจะต้องดำเนินการผ่านรัฐบาลจีน...
ซึ่งก็เท่ากับยอมรับอำนาจอธิปไตยของจีนเหนือทิเบตนั่นเอง
บันเชน ลามะ องค์ที่ 10(ซ้าย) และ ลาได ลามะ องค์ที่ 14(ขวา) หย่อนบัตรลงมติ
เกเช เชรัป กยัตโซ(Geshe Sherab Gyatso) ลามะ หนึ่งในผู้ก่อตั้งพุทธสมาคมแห่งประเทศจีน พ.ศ.2496
สนทนากับประธานเหมา อย่างเป็นกันเอง ในการประชุมสภาประชาชนแห่งชาติ
ณ มหาศาลาประชาชน เป่ยจิง ค.ศ.1954
ดาไล ลามะ องค์ที่ 14(กลาง) พบกับ นายกฯโจวเอินไหล ณ เฉิงตู มณฑลซื่อชวน(เสฉวน) ค.ศ.1955
นายกฯโจวเอินไหล(ซ้าย) ปันเชน ลามะ องค์ที่ 10(ซ้ายถัดมา) ประธานเหมา(กลาง)
ดาไล ลามะ องค์ที่ 14(ขวา) หลิวเส้าฉี(ขวาสุด) ค.ศ.1955
ดาไล ลามะ องค์ที่ 14(ซ้าย) จอมพลเฉินอี้(กลาง) ปันเชน ลามะ องค์ที่ 10(ขวา)
ร่วมดื่มในงานเลี้ยง 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1956
นายกฯโจวเอินไหล พบปะคณะสงฆ์นานาชาติ ณ ตำหนักจงหนานไห่ กู้กง เป่ยจิง 8 ตุลาคม ค.ศ.1956
ในวาระครบรอบ 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ.2500
ปันเชน ลามะ องค์ที่ 10(ซ้ายสุด) ดาไล ลามะ องค์ที่ 14(ซ้ายถัดมา)
นายกฯโจวเอินไหล และนายกฯชวาหระลาล เนห์รู(ขวาสุด)
ให้การต้อนรับคณะจากจีน ณ สนามบินแห่งชาติ กรุงนิวเดลี อินเดีย
เนื่องในวาระครอบรอบ 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ.2500
25 พฤศจิกายน ค.ศ.1956
พระพุทธเจ้า คือ ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของอินเดีย พอๆกับ พระราม และ พระกฤษณะ ดังนั้น
ข้าพเจ้าจะมิขอนับถือศาสนาใดเลย หากมีการบังคับให้เลือกนับถือ ข้าพเจ้าขอเลือกนับถือพระพุทธศาสนา
เติ้งเสี่ยวผิง ให้การต้อนรับ ปันเชน ลามะ องค์ที่ 10(ขวา) ณ สถานีรถไฟ เป่ยจิง ค.ศ.1958
เติ้งเสี่ยวผิง และปันเชน ลามะ องค์ที่ 10(ขวา) ร่วมดื่มในงานเลี้ยงรับรองโดย นายกโจวเอินไหล
ก่อนการประชุมสภาประชาชน 14 เมษายน ค.ศ.1959
อ้างอิง
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
แสดงความคิดเห็น
ทิเบตมีความสำคัญอะไรทำไมจีนถึงเข้ายึดทิเบตค่ะ แล้วทำไมทั่วโลกไม่ค่อยเสนอข่าวทิเบตเลยทั้งๆที่ยังเรียกร้องกันอยู่
ทุกวันนี้ทำไมข่าวเกี่ยวกับทิเบตถึงไม่ออกสื่อนอกกันเลยทั้งๆที่ยังเป็นปัญหาที่ชาวทิเบตเรียกร้องกันอยู่
ขอบคุณมากค่ะ