มีความคิดเห็นหรือคำอธิบาย เป็นอย่างไรบ้าง
1. แสงเดินทางเป็นเส้นตรงตลอด จริงหรือไม่ สามารถบิดงอลำแสงไม่ให้เป็นเแนวตรงได้หรือไม่ เช่น แรงโน้มถ่วงสามารถบิดงอลำแสงได้
2. ถ้าแสงสามารถบิดงอแนวลำแสงได้ การมองเห็นของมนุษย์ที่หลักการสะท้อนของแสง (การรับรู้) มันก็น่าจะบิดเบือน จากความไม่เป็นเส้นตรงของแสงด้วย ระยะต่าง ๆ เช่น ระยะห่าง ระยะทาง ระยะเวลา ที่ใช้แสงเป็นกรอบอ้างอิงก็น่าจะบิดเบือนไปด้วยหรือไม่ คนที่เรียนฟิกส์น่าจะรู้ความหมายของคำว่า ระยะทาง (Distance) กับการกระจัด (Displacement) ว่ามีนิยามไม่เหมือนกัน การสังเกตระดับใกล้ ๆ อาจไม่มีความแตกต่าง แต่การสังเกตที่ระดับไกลอาจจะมีความแตกต่าง เช่น กาแล๊กซี่ A ห่างโลก 300 ปีแสง แต่ถ้ามีเทคโนโลยีวัดค่าการกระจัดได้อาจห่างเพียงแค่ 50 ปีแสงเท่านั้น หรือ แสงจากดวงอาทิตย์เดินทางมาถึงโลกใช้เวลา 8 นาทีโดยเราสังเกตได้จากคำนวนตามเส้นทางของแสงเส้นนี้ แต่ถ้าแสงเดินทางโดยใช้เส้นทางอื่น ๆ อาจมาถึงโลกโดยใช้เวลาน้อยกว่าหรือมากนี้ก็ได้
3. ดังนั้นด้วยข้อจำกัดที่ไม่สามารถเร่งความเร็วมากกว่าความเร็วแสงได้ การเดินทางข้ามเวลา น่าจะเป็นการจัดรูปแบบของ light-space-time ของระยะทาง (Distance) หรือการกระจัด (Displacement) ที่ทำให้เกิดเส้นทาง(ทางลัด) ที่สามารถเดินทางไปยัง time-Frame ต่าง ๆ (อดีตหรืออนาคต) ได้ หรือป่าว
อาจจะมีทฤษฎีรองรับหรือนอกเหนือทฤษฎีไปบ้าง
อยากทราบครับ เรื่อง แสงกับระยะ
1. แสงเดินทางเป็นเส้นตรงตลอด จริงหรือไม่ สามารถบิดงอลำแสงไม่ให้เป็นเแนวตรงได้หรือไม่ เช่น แรงโน้มถ่วงสามารถบิดงอลำแสงได้
2. ถ้าแสงสามารถบิดงอแนวลำแสงได้ การมองเห็นของมนุษย์ที่หลักการสะท้อนของแสง (การรับรู้) มันก็น่าจะบิดเบือน จากความไม่เป็นเส้นตรงของแสงด้วย ระยะต่าง ๆ เช่น ระยะห่าง ระยะทาง ระยะเวลา ที่ใช้แสงเป็นกรอบอ้างอิงก็น่าจะบิดเบือนไปด้วยหรือไม่ คนที่เรียนฟิกส์น่าจะรู้ความหมายของคำว่า ระยะทาง (Distance) กับการกระจัด (Displacement) ว่ามีนิยามไม่เหมือนกัน การสังเกตระดับใกล้ ๆ อาจไม่มีความแตกต่าง แต่การสังเกตที่ระดับไกลอาจจะมีความแตกต่าง เช่น กาแล๊กซี่ A ห่างโลก 300 ปีแสง แต่ถ้ามีเทคโนโลยีวัดค่าการกระจัดได้อาจห่างเพียงแค่ 50 ปีแสงเท่านั้น หรือ แสงจากดวงอาทิตย์เดินทางมาถึงโลกใช้เวลา 8 นาทีโดยเราสังเกตได้จากคำนวนตามเส้นทางของแสงเส้นนี้ แต่ถ้าแสงเดินทางโดยใช้เส้นทางอื่น ๆ อาจมาถึงโลกโดยใช้เวลาน้อยกว่าหรือมากนี้ก็ได้
3. ดังนั้นด้วยข้อจำกัดที่ไม่สามารถเร่งความเร็วมากกว่าความเร็วแสงได้ การเดินทางข้ามเวลา น่าจะเป็นการจัดรูปแบบของ light-space-time ของระยะทาง (Distance) หรือการกระจัด (Displacement) ที่ทำให้เกิดเส้นทาง(ทางลัด) ที่สามารถเดินทางไปยัง time-Frame ต่าง ๆ (อดีตหรืออนาคต) ได้ หรือป่าว
อาจจะมีทฤษฎีรองรับหรือนอกเหนือทฤษฎีไปบ้าง