ถ้าภาษาไทยมีวิภัตติปัจจัยแบบภาษาสันสฤต หรือภาษาตะวันตกจะเป็นอย่างไร (เล่นสร้างไวยากรณ์ใหม่)(งงอย่างแรง)





เช่น ฉัน คือม่อย นักเรียน  (ผู้ชาย)
เธอ คือม่อยยะ นักเรียนธัว (ผู้หญิง)
คนแสดงเพศเมื่อใช้กับอาชีพใช้ธัวเพื่อบอกความเป็นผู้หญิง

ตัวอย่างการผันตามประทาน (กิน) เเละการใช้ article




โดยเพศของอาหารดูจากอาหารนั้นมาจากภาคอะไร
หญิง - กลาง
ชาย  - ใต้  
กลาง  - อีสาน เหนือ
เช่น

ฉัน กระแดตะ รัวเทอ ส้มตำ
เป็น akkusative ซึ่งเป็นกรรมตรงคือ ส้มตำ




ซึ่ง กระแดตะ เป็นการผันตามประธาน ฉัน  ส้มตำมีหน้าที่เป็น akkusative หรือ กรรมตรง ในบริบท

Past Tense

ได้ -  ( haben )


ฉัน ได้ม่อย รัวเทอ ส้มตำ ยัดกระแดรก

โดย ได้ม่อยเป็น modal verb อยู่หลังประธานเสมอเมื่อเป็นอดีต เเละจะต้องมี Verb แท้ที่เป็น verb ไม่ผันอยู่ท้ายประโยคเสมอ

v. แท้ ไม่ผัน   - กระแดรก

-  เธอ ได้ม่อยยะ รัวเทอ ส้มตำ ยัดกระแดรก
-  หนุ่ม ได้ม่อยยัว รัวทา แกงจือ ยัดกระแดรก
-   สาว ได้ม่อยัว รัวเทา ฮังเล ยัดกระแดรก

ตัวอย่างประโยค
passive -
1. โดย รถ เป็นเพศชาย ทำหน้าที่เป็นถูกกระทำในประโยค
บ้าน เป็นเพศกลาง เเละ verb ท้ายประโยคจะไม่ผันเสมอ

รถ ได้ม่อยยัว ที่ รัวเทอ บ้าน เล่นแยรก

รถถูกเล่นโดยชายหนุ่ม (ไม่เจาะจงใครเป็นคนเล่น)

รัวทา รถ ได้ม่อยยัว สมชาย/หนุ่ม ที่ รัวเทอ บ้าน  เล่นแยรก

รถถูกเล่นโดยชายหนุ่ม-สมชาย (เจาะจงเล่น)

Genetive (ของ)

พื้นฐานโดยการเติม ส ออกเสียงว่า สะ แสดงความเป็นเจ้าของ  : สมชายส รถ (รถของสมชาย )
ราตรีส แม่ (แม่ของราตรี) พ่อส ผลไม้ (ผลไม้ของพ่อ)

Genetive อีกแบบ
เช่น รัวเทา รถ รัวไท พ่อ ( รถของพ่อ) เพศชาย
รัวเทา รถ รัวไท แม่ (รถของแม่) เพศ หญิง

กรรมที่อยุ่หน้าประโยคผันตาม Nominative เหมือนภาคแสดง
ประธานด้านหลังแสดงความเป็นเจ้าของผันตาม Genetive



นี่ก็เป็นตัวอย่างของภาษาไทย แบบฉบับผมครับ ที่มีรากศัพท์จากภาษาไทย กริยาใช้แบบภาษาตะวันตกอย่างเยอรมัน
แก้ไขข้อความเมื่อ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่