ออกตัวก่อนว่าผมไม่มีความรู้ทางด้านกฎหมายครับ หากถามอะไรผิดไป ก็ขออภัยล่วงหน้านะครับ
พอดีช่วงนี้ผมอ่านไปเรื่อยครับ ก็พบคำ "ปรับไม่เกิน..." , "จำคุกไม่เกิน..." , "ทั้งจำทั้งปรับ"
ผมก็งงหนะครับ
ยกตัวอย่างนะครับ
"ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ"
ที่ผมเข้าใจคือ
คำว่า จำคุกไม่เกินสองปี นี่หมายถึง โดนจำคุก 1 วันก็ได้เหรอครับ
คำว่า ปรับไม่เกินสองแสนบาท โดน 1 บาทก็ได้เหรอครับ
หรือ ทั้งจำทั้งปรับ โดน จำคุก 1 วัน และ โดนปรับ 1 บาทก็ได้เหรอครับ
ก็เลยเกิดเป็นคำถามขึ้นมาครับว่า
ถ้าแบบนี้แต่กรณีจะโดนลงโทษเหมือนกันไหม
เช่น กรณีนาย A โดนปรับ 1 บาท ส่วนกรณีนาย B โดนปรับ 2000 บาท (เต็มจำนวน)
ทำไมไม่ระบุไปเลยครับจะได้เป็นมาตรฐานเดียวกันไปเลย เช่น
ปรับสองแสนบาท หากไม่มีจ่ายค่าปรับให้ จำคุกสองปี
หรือระบุไปเลยว่า
จำคุกสองปีและปรับสองแสนบาท
อะไรทำนองนี้หนะครับ
ขอบคุณครับ
ทำไมกฎหมายถึงใช้คำว่า "ไม่เกิน" ครับ เช่น "ปรับไม่เกิน..." , "จำคุกไม่เกิน..." , "ทั้งจำทั้งปรับ" ทำไมไม่ระบุไปเลยครับ
พอดีช่วงนี้ผมอ่านไปเรื่อยครับ ก็พบคำ "ปรับไม่เกิน..." , "จำคุกไม่เกิน..." , "ทั้งจำทั้งปรับ"
ผมก็งงหนะครับ
ยกตัวอย่างนะครับ
"ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ"
ที่ผมเข้าใจคือ
คำว่า จำคุกไม่เกินสองปี นี่หมายถึง โดนจำคุก 1 วันก็ได้เหรอครับ
คำว่า ปรับไม่เกินสองแสนบาท โดน 1 บาทก็ได้เหรอครับ
หรือ ทั้งจำทั้งปรับ โดน จำคุก 1 วัน และ โดนปรับ 1 บาทก็ได้เหรอครับ
ก็เลยเกิดเป็นคำถามขึ้นมาครับว่า
ถ้าแบบนี้แต่กรณีจะโดนลงโทษเหมือนกันไหม
เช่น กรณีนาย A โดนปรับ 1 บาท ส่วนกรณีนาย B โดนปรับ 2000 บาท (เต็มจำนวน)
ทำไมไม่ระบุไปเลยครับจะได้เป็นมาตรฐานเดียวกันไปเลย เช่น
ปรับสองแสนบาท หากไม่มีจ่ายค่าปรับให้ จำคุกสองปี
หรือระบุไปเลยว่า
จำคุกสองปีและปรับสองแสนบาท
อะไรทำนองนี้หนะครับ
ขอบคุณครับ