ผมพยามอธิบายภาษาไทยให้คนต่างชาติครับ
อักษรนำ - อักษรตาม หมายถึง พยัญชนะสองตัวเรียงกัน ประสมด้วยสระเดียวกัน เราจะเรียกพยัญชนะว่า "อักษรนำ"
และ พยัญชนะตัวหลัง เรียกว่า "อักษรตาม" โดยตัวแรกเป็นอักษรสูงหรืออักษรกลาง จะบังคับให้พยางค์หลัง
ซึ่งมีพยัญชนะต้นของพยางค์เป็นอักษรเดี่ยว มีเสียงวรรณยุกต์ตามพยัญชนะตัวแรก
มันใช้ได้คำว่า สมาน อ่าน สะ-หมาน
แต่ทำไมใช้ไม่ได้กับคำว่า สมาชิก (กลับไม่อ่าน สะ-หมา-ชิก )
ผมสังเกตว่ามีหลายคำเหมือนกัน เช่น สมัญญา , สมาธิ
อยากทราบว่ามีกฎเกณฑ์อะไรอีกไหม เกี่ยวกับการออกเสียงคำเหล่านี้
หรือต้องจำเอาว่า คำเหล่านี้ (สมาชิก,สมัญญา,สมาธิ) เป็นคำยกเว้นกฎเกณฑ์ข้างต้น
สงสัยเรื่องการอ่านอักษรนำ อักษรตาม เช่นคำว่า สมาชิก ทำไมไม่อ่าน สะ-หมา-ชิก (เหมือนเราอ่าน สมาน ว่า สะ-หมาน)
อักษรนำ - อักษรตาม หมายถึง พยัญชนะสองตัวเรียงกัน ประสมด้วยสระเดียวกัน เราจะเรียกพยัญชนะว่า "อักษรนำ"
และ พยัญชนะตัวหลัง เรียกว่า "อักษรตาม" โดยตัวแรกเป็นอักษรสูงหรืออักษรกลาง จะบังคับให้พยางค์หลัง
ซึ่งมีพยัญชนะต้นของพยางค์เป็นอักษรเดี่ยว มีเสียงวรรณยุกต์ตามพยัญชนะตัวแรก
มันใช้ได้คำว่า สมาน อ่าน สะ-หมาน
แต่ทำไมใช้ไม่ได้กับคำว่า สมาชิก (กลับไม่อ่าน สะ-หมา-ชิก )
ผมสังเกตว่ามีหลายคำเหมือนกัน เช่น สมัญญา , สมาธิ
อยากทราบว่ามีกฎเกณฑ์อะไรอีกไหม เกี่ยวกับการออกเสียงคำเหล่านี้
หรือต้องจำเอาว่า คำเหล่านี้ (สมาชิก,สมัญญา,สมาธิ) เป็นคำยกเว้นกฎเกณฑ์ข้างต้น